ทำไมแปลงเกษตร รอบฉนวนกาซ่า ถึงไม่ปกติ และ แรงงานไทยถูกดึงเข้าไปเกี่ยวข้อง
1.พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่พิพาท
พื้นที่ ดังกล่าเป็นพื้นที่พิพาทรุนแรง และกำลังพิพาทอยู่ การที่ พลเมืองในประเทศที่โลกที่สามไปอยู่ตรงกลางระหว่าง การพิพาทนั้นเป็ฯความเสี่ยงรุนแรง
และ การจัดสรรแรงงานไปในพื้นที่ดังกล่าว รัฐบาลไทย และรัฐบาลอิสราเอลต้อง ให้ความคุ้มครองและแจ้งความเสี่ยงตั้งแต่ต้น
หรือหลีกเลี่ยงการใช้พลเรือนในพื้นที่พิพาทมากที่สุด แต่กลับนำแรงงานโลกที่สามไปอยู่ในจุดอันตรายที่สุดโดยไม่จำเป็น
2.พื้นมีพื้นที่อื่นๆที่สามารถจัดสรร พื้นที่ทำการเกษตรได้
เมื่อพิจารณาพื้นที่โดยรวมของอิสราเอล แล้วเป็นที่แน่ชัดว่า มีพื้นที่อื่นๆที่สามารถทำการเกษตรได้เป็นจำนวนมาก และ อิสราเอลสามารทำการเกษตรในพื้นที่ hyper Arid หรือ แห้งแล้งรุนแรงได้ จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่จำเป็นต้องจัดสรรพื้นที่ทำการเกษตรในบริเวณดังกล่าวและให้พลเรือนประเทศที่สามรับความเสี่ยง
แต่อิสราเอล เลือกจัดสรรพื้นที่ดังกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจง และนำแรงงานโลกที่สามไปทำงาน
3.แรงงานโลกที่สาม โดยเฉพาะประเทศไทย ถูกใช้เป็นหลักในพื้นที่ดังกล่าว
ข้อมูลคนไทย
. ตอนใต้ของประเทศ (Hadarom) : 12,665 คน (48.92%)
และ กว่า 6000 คน ถูกจัดวางใน พื้นที่ล้อมรอบ ฉนวนกาซ่า
พื้นที่ทำการเกษตรในบริเวณนี้เกือบทั้งหมดเป็น คนไทย
ซึ่งสามารถมองได้ว่า พลเมืองทำ ปิดล้อมกำแพงรอบ ปาเลสไตน์โดยไม่ตั้งใจ
4.อิสราเอล และ อเมริกาเป็นประเทศเพียงสองประเทศที่ ไม่ได้ยอมรับกติกา การไม่ใช้ทหารรับจ้างของโลก
สำหรับการจ้างทหารรับจ้างตามกฎหมาสากล, "International Convention against the Recruitment, Use, Financing and Training of Mercenaries" ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า " ข้อตกลงนานาชาติต่อต้านการรับสมัคร, การใช้, การสนับสนุนทางการเงิน และการฝึกอบรมทหารรับจ้าง"." ซึ่งถูกเซ็นต์ในปี 1989 และได้รับการรับรองโดยหลายประเทศ
ได้กำหนดว่า การใช้ทหารรับจ้างในการทำการทหารนั้นผิดกฎหมาย.
ปัญหาคือ แต่อิสราเอลและสหรัฐอเมริกาไม่ได้เซ็นต์
ทำให้สอดคล้องกับ ข่าวที่คนไทยถูกสงสัย เหมารวมไปว่า ไปเป็นทหารรับจ้างดังนี้
5.มีพลเรือนไทยที่เคยเป็นทหาร อยู่ในพื้นที่
ใน Tiktok มักมีคนไทย โพสว่าเป็นทหารไทยในอิสราเอล อยู่บอ่ยครั้ง นำไปสู่ความเข้าใจผิดมากขึ้น
6.ประกาศรับจ้างแรงงานที่ไม่ได้ให้ ข้อมูลด้านความเสี่ยง
ไม่มีการใส่ข้อมูลด้านความเสี่ยงในประกาศรับสมัครงาน
7.สถิติการเสียชีวิต และ ความไม่ปลอดภัย
"ยิ่งไปกว่านั้น ตัวที่พักอาศัยของแรงงานเองก็มักเป็นที่พักในลักษณะไม่ถาวร เช่น เป็นรถคาราวาน หรือคอนเทนเนอร์..""..ถ้าเป็นที่พักไม่ถาวรอย่างคาราวานหรือคอนเทนเนอร์ที่แรงงานอาศัยกันนั้น พวกเขาย่อมไม่มีห้องหลบภัย และแน่นอนว่าเปราะบางมากเมื่อถูกโจมตีด้วยอาวุธ..""..นายจ้างบางคนที่ไม่ยอมแจ้งแรงงานว่าสถานการณ์การสู้รบกำลังเกิดขึ้น และให้แรงงานทำงานต่อไป ..""อุปสรรคเรื่องภาษาก็เป็นอีกสาเหตุสำคัญ อย่างแรงงานไทยจำนวนมากก็มักไม่เข้าใจภาษาอังกฤษและภาษาฮีบรู ทำให้พวกเขาไม่เข้าใจสัญญาณเตือนภัยเวลาที่เกิดเหตุขึ้นมา และทำให้ไม่สามารถหลบหนีได้ทัน"
8.การอยู่ระหว่างความขัดแย้ง ทำให้อาจถูกบังคับให้เลือกข้าง
สองฝ่ายสู้รบกัน อิสราเอลจัดสรรแรงงานไทย ทำงานในพื้นที่เกษตรเชิงปิดล้อม ปาเลสไตน์ติดฉนวนกาซ่า
เมื่อมีความรุนแรงขึ้น แรงงานไทยจะรับความเสียหายเป็นอันดับแรก และ ประเทศถูกดึงเข้าไปมีส่วนร่วมกับความขัดแย้งโดยเลี่ยงไม่ได้
9.บทสรุป
รัฐบาลไทยควร จัดสรรพื้นที่ทำงานโดยเลี่ยงพื้นที่เสี่ยงให้กับ คนไทย ให้ข้อมูลและความรู้ความเข้าใจ ก่อนจัดส่งไปทำงาน
ไม่มีความจำเป็นอะไรที่แรงงานไทยต้องไปทำงานในพื้นที่พิพาทดังกล่าวโดยขาดการป้องกันที่ดี โลกกว้างใหญ่
ชีวิตคนไทยมีความสำคัญ และ ประเทศไทยไม่ควรไปเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งด้านดินแดนของสองประเทศ
ทำไมแปลงเกษตร รอบฉนวนกาซ่า ถึงไม่ปกติ และ แรงงานไทยถูกดึงเข้าไปเกี่ยวข้อง
1.พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่พิพาท
พื้นที่ ดังกล่าเป็นพื้นที่พิพาทรุนแรง และกำลังพิพาทอยู่ การที่ พลเมืองในประเทศที่โลกที่สามไปอยู่ตรงกลางระหว่าง การพิพาทนั้นเป็ฯความเสี่ยงรุนแรง
และ การจัดสรรแรงงานไปในพื้นที่ดังกล่าว รัฐบาลไทย และรัฐบาลอิสราเอลต้อง ให้ความคุ้มครองและแจ้งความเสี่ยงตั้งแต่ต้น
หรือหลีกเลี่ยงการใช้พลเรือนในพื้นที่พิพาทมากที่สุด แต่กลับนำแรงงานโลกที่สามไปอยู่ในจุดอันตรายที่สุดโดยไม่จำเป็น
2.พื้นมีพื้นที่อื่นๆที่สามารถจัดสรร พื้นที่ทำการเกษตรได้
เมื่อพิจารณาพื้นที่โดยรวมของอิสราเอล แล้วเป็นที่แน่ชัดว่า มีพื้นที่อื่นๆที่สามารถทำการเกษตรได้เป็นจำนวนมาก และ อิสราเอลสามารทำการเกษตรในพื้นที่ hyper Arid หรือ แห้งแล้งรุนแรงได้ จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่จำเป็นต้องจัดสรรพื้นที่ทำการเกษตรในบริเวณดังกล่าวและให้พลเรือนประเทศที่สามรับความเสี่ยง
แต่อิสราเอล เลือกจัดสรรพื้นที่ดังกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจง และนำแรงงานโลกที่สามไปทำงาน
3.แรงงานโลกที่สาม โดยเฉพาะประเทศไทย ถูกใช้เป็นหลักในพื้นที่ดังกล่าว
ข้อมูลคนไทย
. ตอนใต้ของประเทศ (Hadarom) : 12,665 คน (48.92%)
และ กว่า 6000 คน ถูกจัดวางใน พื้นที่ล้อมรอบ ฉนวนกาซ่า
พื้นที่ทำการเกษตรในบริเวณนี้เกือบทั้งหมดเป็น คนไทย
ซึ่งสามารถมองได้ว่า พลเมืองทำ ปิดล้อมกำแพงรอบ ปาเลสไตน์โดยไม่ตั้งใจ
4.อิสราเอล และ อเมริกาเป็นประเทศเพียงสองประเทศที่ ไม่ได้ยอมรับกติกา การไม่ใช้ทหารรับจ้างของโลก
สำหรับการจ้างทหารรับจ้างตามกฎหมาสากล, "International Convention against the Recruitment, Use, Financing and Training of Mercenaries" ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า " ข้อตกลงนานาชาติต่อต้านการรับสมัคร, การใช้, การสนับสนุนทางการเงิน และการฝึกอบรมทหารรับจ้าง"." ซึ่งถูกเซ็นต์ในปี 1989 และได้รับการรับรองโดยหลายประเทศ
ได้กำหนดว่า การใช้ทหารรับจ้างในการทำการทหารนั้นผิดกฎหมาย.
ปัญหาคือ แต่อิสราเอลและสหรัฐอเมริกาไม่ได้เซ็นต์
ทำให้สอดคล้องกับ ข่าวที่คนไทยถูกสงสัย เหมารวมไปว่า ไปเป็นทหารรับจ้างดังนี้
5.มีพลเรือนไทยที่เคยเป็นทหาร อยู่ในพื้นที่
ใน Tiktok มักมีคนไทย โพสว่าเป็นทหารไทยในอิสราเอล อยู่บอ่ยครั้ง นำไปสู่ความเข้าใจผิดมากขึ้น
6.ประกาศรับจ้างแรงงานที่ไม่ได้ให้ ข้อมูลด้านความเสี่ยง
ไม่มีการใส่ข้อมูลด้านความเสี่ยงในประกาศรับสมัครงาน
7.สถิติการเสียชีวิต และ ความไม่ปลอดภัย
"ยิ่งไปกว่านั้น ตัวที่พักอาศัยของแรงงานเองก็มักเป็นที่พักในลักษณะไม่ถาวร เช่น เป็นรถคาราวาน หรือคอนเทนเนอร์..""..ถ้าเป็นที่พักไม่ถาวรอย่างคาราวานหรือคอนเทนเนอร์ที่แรงงานอาศัยกันนั้น พวกเขาย่อมไม่มีห้องหลบภัย และแน่นอนว่าเปราะบางมากเมื่อถูกโจมตีด้วยอาวุธ..""..นายจ้างบางคนที่ไม่ยอมแจ้งแรงงานว่าสถานการณ์การสู้รบกำลังเกิดขึ้น และให้แรงงานทำงานต่อไป ..""อุปสรรคเรื่องภาษาก็เป็นอีกสาเหตุสำคัญ อย่างแรงงานไทยจำนวนมากก็มักไม่เข้าใจภาษาอังกฤษและภาษาฮีบรู ทำให้พวกเขาไม่เข้าใจสัญญาณเตือนภัยเวลาที่เกิดเหตุขึ้นมา และทำให้ไม่สามารถหลบหนีได้ทัน"
8.การอยู่ระหว่างความขัดแย้ง ทำให้อาจถูกบังคับให้เลือกข้าง
สองฝ่ายสู้รบกัน อิสราเอลจัดสรรแรงงานไทย ทำงานในพื้นที่เกษตรเชิงปิดล้อม ปาเลสไตน์ติดฉนวนกาซ่า
เมื่อมีความรุนแรงขึ้น แรงงานไทยจะรับความเสียหายเป็นอันดับแรก และ ประเทศถูกดึงเข้าไปมีส่วนร่วมกับความขัดแย้งโดยเลี่ยงไม่ได้
9.บทสรุป
รัฐบาลไทยควร จัดสรรพื้นที่ทำงานโดยเลี่ยงพื้นที่เสี่ยงให้กับ คนไทย ให้ข้อมูลและความรู้ความเข้าใจ ก่อนจัดส่งไปทำงาน
ไม่มีความจำเป็นอะไรที่แรงงานไทยต้องไปทำงานในพื้นที่พิพาทดังกล่าวโดยขาดการป้องกันที่ดี โลกกว้างใหญ่
ชีวิตคนไทยมีความสำคัญ และ ประเทศไทยไม่ควรไปเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งด้านดินแดนของสองประเทศ