https://www.facebook.com/ying.phongpisitkul/videos/894231225742188
ขออนุญาตแชร์ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ล่าสุดของ ภญ.ญาดาภา นะครับ
เนื้อหาในวีดีโอสำหรับคนที่ถนัดอ่านมากกว่า:
ขออนุญาตทำคลิปเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าอีกครั้ง
ทางเราต้องขอแสดงความเสียใจกับเหตุการณ์เสียชีวิตของ เภสัชกรหญิงญาดาภา
ที่เสียชีวิตจากการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าด้วย
เธอมีครอบครัวและสามีคอยเฝ้าระวังและให้ทานยารักษามาโดยตลอด แต่วันเกิดเหตุเป็นวันเปิดสภา
ทำให้ สส ศุภโชค ต้องเดินทางเข้าประชุมสภา เภสัชกรหญิงจึงอาศัยใช้เวลาที่ไม่มีใครอยู่บ้านก่อเหตุดังกล่าว
สำหรับเรื่องราวในคลิปนี้อาจทำให้คนที่เป็นแพนิค โรควิตกกังวล และโรคซึมเศร้า
ฟังแล้วรู้สึกแย่ แต่ทว่านี่ก็เป็นข้อมูลสำคัญที่จะต้องแชร์ให้ทราบ เพื่อไม่ให้เกิดความสูญเสียเช่นนี้อีก
แต่ถ้าหากท่านมีอาการของโรคที่รุนแรง อาจต้องขอให้ข้ามผ่านคลิปนี้
แต่ในช่วงต้นนี้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับสาเหตุของโรคและวิธีการรักษาให้หาย
ซึ่งท่านยังสามารถรับฟังได้ แต่ครึ่งหลังจะเป็นเหตุการณ์สะเทือนใจ ที่จะแจ้งเตือนให้ทราบก่อนล่วงหน้า
ก่อนอื่นขอบอกเลยว่า โรคซึมเศร้า โรคแพนิค และโรควิตกกังวลสามารถรักษาให้หายขาดได้
ถ้าเราแก้ไขที่สาเหตุของโรคได้อย่างแท้จริง
การแพทย์ปัจจุบันเชื่อว่า สาเหตุของโรคเกิดจากพันธุกรรมที่ทำให้สารเคมีในสมองไม่สมดุล
และการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของพื้นที่สมอง ที่รับผิดชอบในการควบคุมอารมณ์และความวิตกกังวล
สองคือกรรมพันธุ์ที่ได้รับผ่านพ่อแม่หรือจากบรรพบุรุษ
สามคือความเปลี่ยนแปลง เกี่ยวกับสารสื่อประสาท เช่น เซโรโทนิน โดปามีน และนอร์เอพิเนฟริน
ที่อาจกระทบอารมณ์และความวิตกกังวล
สี่คือปัจจัยสิ่งแวดล้อม เหตุการณ์ที่เจ็บปวดในอดีต รวมไปถึงปัญหาด้านบุคลิกภาพ
และปัญหาฮอร์โมนไม่สมดุล
แม้สาเหตุเหล่านี้จะมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุน แต่ก็ไม่มีใครรู้ว่าอะไรคือปัจจัยแรกสุด
ที่ทำให้เกิดโรคเหล่านี้ ทำให้ไม่สามารถผลิตยาที่รักษาโรคเหล่านี้ ให้หายได้ สิ่งที่น่าสงสัยที่สุด
จึงเป็นเรื่องของอีพิเจเนติกส์ ที่เกี่ยวกับการสะสมของสารพิษในสมอง
ตลอดเวลาที่ผ่านมา เรายังไม่สามารถทำการทดลองวิจัยเกี่ยวกับสาเหตุโรค ที่เกิดจากอีพิเจเนติกส์
เพราะ หนึ่งต้องใช้เงินทุนมหาศาล สองต้องมีคนร่วมทดลองมาก เป็นหมื่นเป็นแสนคน
สามต้องติดตามผลเป็นเวลานาน มากกว่า 10 ปีขึ้นไปก็ยิ่งดี
งานศึกษาค้นคว้าที่ใกล้เคียงกับการทำวิจัยทางอีพิเจเนติกส์มากที่สุด ก็คืองานของ
ดร.แอนดรูว ฮอลล์ คัทเลอร์ เขาได้เขียนหนังสือออกมา 3 เล่ม เริ่มมีคนศึกษาและทดลองรักษาโรค
มาเป็นเวลากว่า 20 ปี และมีผู้เข้าร่วมในกลุ่มเฟสบุ๊ค เพื่อศึกษาและรักษา เป็นผู้ใหญ่ 82,300 คน
และเป็นเด็ก 6,400 คน รวมทั้งสิ้นเกือบ 9 หมื่นคน และจำนวนยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
โดยมีผลการรักษาที่สามารถสรุปได้ว่า โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล โรคแพนิค และโรคทางระบบประสาทอีกมาก
เกิดจากสารปรอทที่เข้าไปสะสมอยู่ในสมอง
ปรอทนั้นชอบไขมันที่อยู่ในสมองมาก ร่างกายของเรา จะไม่สามารถขับออกจากสมองได้
ปรอทจะกระทบกับการทำงานของสมอง สารสื่อประสาท และฮอร์โมน และเป็นสารพิษ
ที่สามารถสืบทอดได้ผ่านครรภ์มารดา จึงมีการถ่ายทอดของโรคภายในครอบครัวแบบกรรมพันธุ์
ซึ่งเรื่องนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่วิทยาศาสตร์และการแพทย์ต่างทราบกันดีอยู่แล้ว
แต่เพราะปรอท ถูกส่งผ่านครรภ์ และปรอทไม่เคยอยู่ในเลือดนาน และจะหลบเข้าสู่เซลล์ไขมันอย่างรวดเร็ว
จึงเป็นสารในไม่กี่ชนิด ที่สามารถหลบการตรวจสอบทางการแพทย์ได้ทั้งหมด
หากตรวจพบก็เป็นเพียงปริมาณที่น้อยที่ไม่น่าจะเป็น อันตรายต่อร่างกาย
การระบาดของโรคมินามาตะ ในปี 1956 เป็นการเปิดเผยความร้ายกาจของสารปรอทเป็นครั้งแรก
ของศตวรรษที่ 20 หรือ 67 ปีที่แล้ว และก่อนหน้านั้นคือ โรคของช่างทำหมวก หรือ
Mad Hatter Disease ที่เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19
ด้วยความที่เหตุการณ์ในมินามาตะเป็นการถูกสารพิษจำนวนมากแบบเฉียบพลัน
จึงสามารถตรวจพบ และบันทึกอาการที่เกี่ยวข้องกับการถูกสารปรอทได้ทั้งหมด
อาการของโรคที่เกิดจากปรอทจึงถูกบันทึกอยู่ในหนังสือแพทย์ฉบับเก่าโดยละเอียด
แต่เปลี่ยนแปลงไปในฉบับใหม่ๆ เพราะมีการจำแนกโรคใหม่ และมุ่งไปที่สาเหตุอื่นมากขึ้น
แต่เหตุการณ์การถูกพิษสารปรอท เป็นเหตุการณ์สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับ
ผลกระทบทางอีพิเจเนติกส์ และน่าเสียดายที่ตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา
ไม่มีบริษัทยาที่ให้การสนับสนุนการทำวิจัยเกี่ยวกับด้านอีพิเจเนติกส์ เพราะมีต้นทุนที่แพง
และไม่คุ้มค่าเท่ากับการทำวิจัยแบบทั่วไป ที่ช่วยให้สามารถผลิตยาจิตเวช ที่ใช้ง่าย
และสร้างผลกำไรได้อย่างมหาศาลในแต่ละปี
ปัจจุบันนี้จึงไม่มียาที่ช่วยรักษาโรคทางอีพิเจเนติกส์ แต่จะมีคำแนะนำจากหมอทุกๆ ปี
ที่เราคุ้นชิน ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับอีพิเจเนติกส์ทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น
ให้หลีกเลี่ยงสารพิษจากสิ่งแวดล้อม
กินอาหารที่มีประโยชน์
หลีกเลี่ยงความเครียด
ไม่ดื่มเหล้าสูบบุหรี่
ป้องกันร่างกาย
จากรังสีในแสงอาทิตย์
ปกป้องตัวเองจากการติดเชื้อ
นอนหลับให้เพียงพอ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เป็นต้น
โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล และโรคแพนิค เป็นอาการของการถูกพิษสารปรอทแบบเรื้อรัง
ที่สะสมมาทีละเล็กทีละน้อย ภายในครอบครัว ยืนยันได้จากข้อมูลในหนังสือแพทย์ฉบับเก่า
และการทดลองรักษาโรคที่เกี่ยวกับสารปรอทของคนเกือบ 9 หมื่นคนในกลุ่มเฟสบุคของคัทเลอร์
ซึ่งในกลุ่มนั้นก็มีหมอและนักวิทยาศาสตร์หลายคนที่สนใจเข้าร่วมด้วย เพราะพวกเขาก็ต้องการรักษาตัวเองให้หาย
เนื่องจากยาจิตเวชรักษาพวกเขาให้หายไม่ได้ ซึ่งหนังสือของคัทเลอร์ทั้ง 3 เล่มนั้นมีแหล่งอ้างอิงข้อมูล
และมีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์รองรับเป็นอย่างดี และมีผู้ที่ขับสารปรอทจนเสร็จออกมายืนยันผลความสำเร็จอยู่เรื่อย ๆ
ซึ่งเราจะนำมาพูดถึงต่อไปในอนาคต
ข้อมูลหรือคนในเฟสบุคเหล่านี้ไม่ใช่สิ่งที่จัดตั้งขึ้น เพื่อสร้างข่าวเท็จ หรือ fake news เพราะทุกคนมีตัวตน
มีตำแหน่งหน้าที่ มีรูป มีครอบครัว และมีแหล่งอ้างอิงของข้อมูล ดังนั้นทุกคนจึงสามารถเข้าไปสำรวจดู
สอบถาม หรือ ถกเถียงในนั้นได้ และท่านยังสามารถสอบถามและติดตามงานของพวกเราเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้
เพราะเราได้ศึกษา และเขียนหนังสือเกี่ยวกับเรื่องผลกระทบทางอีพิเจเนติกส์มาประมาณ 6 ปีแล้ว
กรุ๊ปของคัทเลอร์ กลุ่มผู้ใหญ่
กรุ๊ปของคัทเลอร์ กลุ่มเด็ก
โดยข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการรักษาก็คือ การกิน ALA โดสต่ำกว่าปกติ ตามระยะครึ่งชีวิตทุก 3 ชั่วโมง
โดยมีช่วงที่กิน 3 วัน และช่วงที่หยุดพัก 4 วัน ค่อย ๆ ทำ จนขับสารปรอทออกหมด
ซึ่งใช้ระยะเวลาอย่างน้อย 2 หรือ 3 ปี จากนั้นโรคจึงหายไป แต่ในระหว่างนั้น อาการของโรคจะดีขึ้นเรื่อย ๆ
หรือ อาจเป็นน้อยลงมาก
การรักษานี้เป็นสิ่งที่ยืนยันว่าไม่มียาวิเศษในโลกนี้ ซึ่งปกติการแพทย์แบบองค์รวมยอมรับในเรื่องนี้
แต่ถ้าเป็นการแพทย์แบบทั่วไป จะพยายามหายาสักตัวที่สามารถรักษาโรคบางโรคให้หาย
ซึ่งสำหรับโรคที่เกิดจากผลกระทบทางอีพิเจเนติกส์ เราไม่สามารถคิดแบบการแพทย์ปกติได้
เพราะร่างกายของเราได้รับผลกระทบมาเป็นเวลานานมากแล้ว
สำหรับด้านความปลอดภัย วิธีการของคัทเลอร์สามารถใช้รักษาเด็กได้ตั้งแต่อายุ 1 ขวบ
ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะใช้รักษาโรคออทิซึมที่เป็นอาการของการถูกพิษสารปรอทด้วยเช่นกัน
โดยมีข้อมูลการรักษาหายของเด็กออกมาเป็นหลักฐานอยู่เรื่อย ๆ
แต่เรื่องเหล่านี้จะไม่เข้าสู่ข้อมูลทางการแพทย์ เพราะจะต้องเป็นข้อมูลที่มาจากงานวิจัยเท่านั้น
และเมื่องานวิจัยทางด้านอีพิเจเนติกส์ยังไม่มีการทำขึ้นมา ข้อมูลนี้ก็จะไม่เข้าไปสู่การแพทย์
และมีแนวโน้มว่าจะไม่มีวันที่จะทำงานวิจัยทางอีพิเจเนติกส์กับโรคเหล่านี้อย่างน้อย ๆ ก็คงอีกหลายสิบปี
หรือถ้ามองแบบเลวร้ายที่สุดก็คือจะไม่มีวันเกิดขึ้น
เพราะบริษัทยาไม่ได้รับผลประโยชน์จากเรื่องนี้
จบในเรื่องของสาเหตุและวิธีการรักษาแล้ว จากนี้เป็นต้นไปจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับผลกระทบของยาจิตเวช
ที่เป็นเรื่องราวที่ทำให้รู้สึกแย่ได้ ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล และโรคแพนิค ที่ไม่ต้องการฟังเรื่องราวเหล่านี้
สามารถหยุดคลิปตรงนี้ได้เลย
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
ผลกระทบของยาต้านเศร้า
ขออนุญาตแชร์ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ล่าสุดของ ภญ.ญาดาภา นะครับ
เนื้อหาในวีดีโอสำหรับคนที่ถนัดอ่านมากกว่า:
ขออนุญาตทำคลิปเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าอีกครั้ง
ทางเราต้องขอแสดงความเสียใจกับเหตุการณ์เสียชีวิตของ เภสัชกรหญิงญาดาภา
ที่เสียชีวิตจากการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าด้วย
เธอมีครอบครัวและสามีคอยเฝ้าระวังและให้ทานยารักษามาโดยตลอด แต่วันเกิดเหตุเป็นวันเปิดสภา
ทำให้ สส ศุภโชค ต้องเดินทางเข้าประชุมสภา เภสัชกรหญิงจึงอาศัยใช้เวลาที่ไม่มีใครอยู่บ้านก่อเหตุดังกล่าว
สำหรับเรื่องราวในคลิปนี้อาจทำให้คนที่เป็นแพนิค โรควิตกกังวล และโรคซึมเศร้า
ฟังแล้วรู้สึกแย่ แต่ทว่านี่ก็เป็นข้อมูลสำคัญที่จะต้องแชร์ให้ทราบ เพื่อไม่ให้เกิดความสูญเสียเช่นนี้อีก
แต่ถ้าหากท่านมีอาการของโรคที่รุนแรง อาจต้องขอให้ข้ามผ่านคลิปนี้
แต่ในช่วงต้นนี้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับสาเหตุของโรคและวิธีการรักษาให้หาย
ซึ่งท่านยังสามารถรับฟังได้ แต่ครึ่งหลังจะเป็นเหตุการณ์สะเทือนใจ ที่จะแจ้งเตือนให้ทราบก่อนล่วงหน้า
ก่อนอื่นขอบอกเลยว่า โรคซึมเศร้า โรคแพนิค และโรควิตกกังวลสามารถรักษาให้หายขาดได้
ถ้าเราแก้ไขที่สาเหตุของโรคได้อย่างแท้จริง
การแพทย์ปัจจุบันเชื่อว่า สาเหตุของโรคเกิดจากพันธุกรรมที่ทำให้สารเคมีในสมองไม่สมดุล
และการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของพื้นที่สมอง ที่รับผิดชอบในการควบคุมอารมณ์และความวิตกกังวล
สองคือกรรมพันธุ์ที่ได้รับผ่านพ่อแม่หรือจากบรรพบุรุษ
สามคือความเปลี่ยนแปลง เกี่ยวกับสารสื่อประสาท เช่น เซโรโทนิน โดปามีน และนอร์เอพิเนฟริน
ที่อาจกระทบอารมณ์และความวิตกกังวล
สี่คือปัจจัยสิ่งแวดล้อม เหตุการณ์ที่เจ็บปวดในอดีต รวมไปถึงปัญหาด้านบุคลิกภาพ
และปัญหาฮอร์โมนไม่สมดุล
แม้สาเหตุเหล่านี้จะมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุน แต่ก็ไม่มีใครรู้ว่าอะไรคือปัจจัยแรกสุด
ที่ทำให้เกิดโรคเหล่านี้ ทำให้ไม่สามารถผลิตยาที่รักษาโรคเหล่านี้ ให้หายได้ สิ่งที่น่าสงสัยที่สุด
จึงเป็นเรื่องของอีพิเจเนติกส์ ที่เกี่ยวกับการสะสมของสารพิษในสมอง
ตลอดเวลาที่ผ่านมา เรายังไม่สามารถทำการทดลองวิจัยเกี่ยวกับสาเหตุโรค ที่เกิดจากอีพิเจเนติกส์
เพราะ หนึ่งต้องใช้เงินทุนมหาศาล สองต้องมีคนร่วมทดลองมาก เป็นหมื่นเป็นแสนคน
สามต้องติดตามผลเป็นเวลานาน มากกว่า 10 ปีขึ้นไปก็ยิ่งดี
งานศึกษาค้นคว้าที่ใกล้เคียงกับการทำวิจัยทางอีพิเจเนติกส์มากที่สุด ก็คืองานของ
ดร.แอนดรูว ฮอลล์ คัทเลอร์ เขาได้เขียนหนังสือออกมา 3 เล่ม เริ่มมีคนศึกษาและทดลองรักษาโรค
มาเป็นเวลากว่า 20 ปี และมีผู้เข้าร่วมในกลุ่มเฟสบุ๊ค เพื่อศึกษาและรักษา เป็นผู้ใหญ่ 82,300 คน
และเป็นเด็ก 6,400 คน รวมทั้งสิ้นเกือบ 9 หมื่นคน และจำนวนยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
โดยมีผลการรักษาที่สามารถสรุปได้ว่า โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล โรคแพนิค และโรคทางระบบประสาทอีกมาก
เกิดจากสารปรอทที่เข้าไปสะสมอยู่ในสมอง
ปรอทนั้นชอบไขมันที่อยู่ในสมองมาก ร่างกายของเรา จะไม่สามารถขับออกจากสมองได้
ปรอทจะกระทบกับการทำงานของสมอง สารสื่อประสาท และฮอร์โมน และเป็นสารพิษ
ที่สามารถสืบทอดได้ผ่านครรภ์มารดา จึงมีการถ่ายทอดของโรคภายในครอบครัวแบบกรรมพันธุ์
ซึ่งเรื่องนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่วิทยาศาสตร์และการแพทย์ต่างทราบกันดีอยู่แล้ว
แต่เพราะปรอท ถูกส่งผ่านครรภ์ และปรอทไม่เคยอยู่ในเลือดนาน และจะหลบเข้าสู่เซลล์ไขมันอย่างรวดเร็ว
จึงเป็นสารในไม่กี่ชนิด ที่สามารถหลบการตรวจสอบทางการแพทย์ได้ทั้งหมด
หากตรวจพบก็เป็นเพียงปริมาณที่น้อยที่ไม่น่าจะเป็น อันตรายต่อร่างกาย
การระบาดของโรคมินามาตะ ในปี 1956 เป็นการเปิดเผยความร้ายกาจของสารปรอทเป็นครั้งแรก
ของศตวรรษที่ 20 หรือ 67 ปีที่แล้ว และก่อนหน้านั้นคือ โรคของช่างทำหมวก หรือ
Mad Hatter Disease ที่เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19
ด้วยความที่เหตุการณ์ในมินามาตะเป็นการถูกสารพิษจำนวนมากแบบเฉียบพลัน
จึงสามารถตรวจพบ และบันทึกอาการที่เกี่ยวข้องกับการถูกสารปรอทได้ทั้งหมด
อาการของโรคที่เกิดจากปรอทจึงถูกบันทึกอยู่ในหนังสือแพทย์ฉบับเก่าโดยละเอียด
แต่เปลี่ยนแปลงไปในฉบับใหม่ๆ เพราะมีการจำแนกโรคใหม่ และมุ่งไปที่สาเหตุอื่นมากขึ้น
แต่เหตุการณ์การถูกพิษสารปรอท เป็นเหตุการณ์สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับ
ผลกระทบทางอีพิเจเนติกส์ และน่าเสียดายที่ตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา
ไม่มีบริษัทยาที่ให้การสนับสนุนการทำวิจัยเกี่ยวกับด้านอีพิเจเนติกส์ เพราะมีต้นทุนที่แพง
และไม่คุ้มค่าเท่ากับการทำวิจัยแบบทั่วไป ที่ช่วยให้สามารถผลิตยาจิตเวช ที่ใช้ง่าย
และสร้างผลกำไรได้อย่างมหาศาลในแต่ละปี
ปัจจุบันนี้จึงไม่มียาที่ช่วยรักษาโรคทางอีพิเจเนติกส์ แต่จะมีคำแนะนำจากหมอทุกๆ ปี
ที่เราคุ้นชิน ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับอีพิเจเนติกส์ทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น
ให้หลีกเลี่ยงสารพิษจากสิ่งแวดล้อม
กินอาหารที่มีประโยชน์
หลีกเลี่ยงความเครียด
ไม่ดื่มเหล้าสูบบุหรี่
ป้องกันร่างกาย
จากรังสีในแสงอาทิตย์
ปกป้องตัวเองจากการติดเชื้อ
นอนหลับให้เพียงพอ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เป็นต้น
โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล และโรคแพนิค เป็นอาการของการถูกพิษสารปรอทแบบเรื้อรัง
ที่สะสมมาทีละเล็กทีละน้อย ภายในครอบครัว ยืนยันได้จากข้อมูลในหนังสือแพทย์ฉบับเก่า
และการทดลองรักษาโรคที่เกี่ยวกับสารปรอทของคนเกือบ 9 หมื่นคนในกลุ่มเฟสบุคของคัทเลอร์
ซึ่งในกลุ่มนั้นก็มีหมอและนักวิทยาศาสตร์หลายคนที่สนใจเข้าร่วมด้วย เพราะพวกเขาก็ต้องการรักษาตัวเองให้หาย
เนื่องจากยาจิตเวชรักษาพวกเขาให้หายไม่ได้ ซึ่งหนังสือของคัทเลอร์ทั้ง 3 เล่มนั้นมีแหล่งอ้างอิงข้อมูล
และมีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์รองรับเป็นอย่างดี และมีผู้ที่ขับสารปรอทจนเสร็จออกมายืนยันผลความสำเร็จอยู่เรื่อย ๆ
ซึ่งเราจะนำมาพูดถึงต่อไปในอนาคต
ข้อมูลหรือคนในเฟสบุคเหล่านี้ไม่ใช่สิ่งที่จัดตั้งขึ้น เพื่อสร้างข่าวเท็จ หรือ fake news เพราะทุกคนมีตัวตน
มีตำแหน่งหน้าที่ มีรูป มีครอบครัว และมีแหล่งอ้างอิงของข้อมูล ดังนั้นทุกคนจึงสามารถเข้าไปสำรวจดู
สอบถาม หรือ ถกเถียงในนั้นได้ และท่านยังสามารถสอบถามและติดตามงานของพวกเราเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้
เพราะเราได้ศึกษา และเขียนหนังสือเกี่ยวกับเรื่องผลกระทบทางอีพิเจเนติกส์มาประมาณ 6 ปีแล้ว
กรุ๊ปของคัทเลอร์ กลุ่มผู้ใหญ่
กรุ๊ปของคัทเลอร์ กลุ่มเด็ก
โดยข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการรักษาก็คือ การกิน ALA โดสต่ำกว่าปกติ ตามระยะครึ่งชีวิตทุก 3 ชั่วโมง
โดยมีช่วงที่กิน 3 วัน และช่วงที่หยุดพัก 4 วัน ค่อย ๆ ทำ จนขับสารปรอทออกหมด
ซึ่งใช้ระยะเวลาอย่างน้อย 2 หรือ 3 ปี จากนั้นโรคจึงหายไป แต่ในระหว่างนั้น อาการของโรคจะดีขึ้นเรื่อย ๆ
หรือ อาจเป็นน้อยลงมาก
การรักษานี้เป็นสิ่งที่ยืนยันว่าไม่มียาวิเศษในโลกนี้ ซึ่งปกติการแพทย์แบบองค์รวมยอมรับในเรื่องนี้
แต่ถ้าเป็นการแพทย์แบบทั่วไป จะพยายามหายาสักตัวที่สามารถรักษาโรคบางโรคให้หาย
ซึ่งสำหรับโรคที่เกิดจากผลกระทบทางอีพิเจเนติกส์ เราไม่สามารถคิดแบบการแพทย์ปกติได้
เพราะร่างกายของเราได้รับผลกระทบมาเป็นเวลานานมากแล้ว
สำหรับด้านความปลอดภัย วิธีการของคัทเลอร์สามารถใช้รักษาเด็กได้ตั้งแต่อายุ 1 ขวบ
ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะใช้รักษาโรคออทิซึมที่เป็นอาการของการถูกพิษสารปรอทด้วยเช่นกัน
โดยมีข้อมูลการรักษาหายของเด็กออกมาเป็นหลักฐานอยู่เรื่อย ๆ
แต่เรื่องเหล่านี้จะไม่เข้าสู่ข้อมูลทางการแพทย์ เพราะจะต้องเป็นข้อมูลที่มาจากงานวิจัยเท่านั้น
และเมื่องานวิจัยทางด้านอีพิเจเนติกส์ยังไม่มีการทำขึ้นมา ข้อมูลนี้ก็จะไม่เข้าไปสู่การแพทย์
และมีแนวโน้มว่าจะไม่มีวันที่จะทำงานวิจัยทางอีพิเจเนติกส์กับโรคเหล่านี้อย่างน้อย ๆ ก็คงอีกหลายสิบปี
หรือถ้ามองแบบเลวร้ายที่สุดก็คือจะไม่มีวันเกิดขึ้น
เพราะบริษัทยาไม่ได้รับผลประโยชน์จากเรื่องนี้
จบในเรื่องของสาเหตุและวิธีการรักษาแล้ว จากนี้เป็นต้นไปจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับผลกระทบของยาจิตเวช
ที่เป็นเรื่องราวที่ทำให้รู้สึกแย่ได้ ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล และโรคแพนิค ที่ไม่ต้องการฟังเรื่องราวเหล่านี้
สามารถหยุดคลิปตรงนี้ได้เลย
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.