يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا
لَا يَحِلُّ لَكُمْ أَنْ تَرِثُوا النِّسَاءَ كَرْهًا ۖ وَلَا تَعْضُلُوهُنَّ لِتَذْهَبُوا بِبَعْضِ مَا آتَيْتُمُوهُنَّ إِلَّا أَنْ يَأْتِينَ بِفَاحِشَةٍ مُبَيِّنَةٍ ۚ وَعَاشِرُوهُنَّ بِالْمَعْرُوفِ ۚ فَإِنْ كَرِهْتُمُوهُنَّ فَعَسَىٰ أَنْ تَكْرَهُوا شَيْئًا وَيَجْعَلَ اللَّهُ فِيهِ خَيْرًا كَثِيرًا {19}
[Shakir 4:19] O you who believe! it is not lawful for you that you should take women as heritage against (their) will, and do not straiten them in order that you may take part of what you have given them unless they are guilty of manifest indecency, and treat them kindly; then if you hate them, it may be that you dislike a thing while Allah has placed abundant good in it.
{4:19} โอ้ บรรดาผู้ที่มีศรัทธา! ไม่อนุมัติแก่พวกเธอ ที่จะเอาบรรดาสตรีเป็นมรดก (ทรัพย์สิน,สิ่งของ) และไม่อนุมัติเช่นเดียวกัน ที่จะขัดขวางพวกนาง เพื่อเอาบางส่วนของสิ่งที่พวกเธอได้เคยมอบให้แก่พวกนางนั้นคืนมา นอกจากว่าพวกนางจะกระทำสิ่งลามกอันชัดแจ้งเท่านั้น และจงอยู่ร่วมกับพวกนางด้วยดี หากพวกเธอรังเกียจพวกนาง ก็อาจเป็นไปได้ว่า การที่พวกเธอรังเกียจสิ่งหนึ่ง ขณะเดียวกันอัลลอฮฺก็ทรงให้มีความดีอันมากมายในสิ่งนั้น
لَا يَحِلُّ لَكُمْ أَنْ تَرِثُوا النِّسَاءَ كَرْهًا ۖ "มันเป็นการผิดกฏหมายที่จะบังคับหญิง(ในครอบครอง)โดยที่เธอไม่เต็มใจ" เพื่อแต่งงานกับผู้อื่นที่เธอไม่เต็มใจ
ในสมัยก่อนอิสลาม ในครอบครัวของพวกอรับผู้ชาเจว็ด ที่หัวหน้าครอบครัวมีภรรยาจำนวนมาก เมื่อสามีตายบรรดาญาติก็จะแบ่งภรรยาเหล่านี้เสมือนทรัพย์สินเพื่อเอาไปขายหรือไปเป็นเมียผู้อื่น หรือของตัวเอง และอีกวิธีหนึ่งคือการฝืนใจ ภรรยาโดยขังเธอไว้ในบ้านเพื่อบังคับให้แยกตัวและสละบุตรสาวหรือมรดกของพวกเขา
ธรรมเนียมอันป่าเถื่อนดังกล่าวทั้งหมดถูกกวาดล้างโดยสิ้นเชิง หลังจากการประกาศศาสนาอิสลาม บัญญัตินี้มีคำสั่งห้ามการบังคับหญิงเยี่ยงมรดก ในการที่จะบังคับฝืนใจเธอให้เธอแต่งงานกับคนที่เธอไม่เต็มใจจะแต่งงานด้วย
นี่ก็เป็นอีกข้อหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าศาสนาอิสลามให้สิทธิมสตรีในการตัดสินใจตามที่เธอปรารถนา ก่อนที่จะมีอารยธรรมปัจจุบัน ที่กล่าวถึง "สิทธิมนุษยชน (Human Right)" มานานกว่า 1400 ปีแล้ว อาจจะกล่าวได้ว่า อารยธรรมปัจจุบัน หรือ "สิทธิมนุษยชน (Human Right)" นี้ถือกำเนิดมาจากอัลกุรอาน ก็ไม่ผิดนัก เพราะว่า ชาวยุโรปศึกษาอัลกุรอานมานานตั้งแต่ศาสนาอิสลามแพร่ขยายเข้าในยุโรปในปี 711 CE (AD) ศตวรรษที่ 7
หลักฐานจากฮาดีษ: “มีรายงานว่า; มีหญิงสาวพรหมจารีคนหนึ่งเข้ามาหาท่านศาสดามูฮัมมัด (ขอความสันติสุขจงมีแด่ท่าน)
และกล่าวว่าบิดาของเธอบังคับให้เธอแต่งงานโดยที่เธอไม่เต็มใจ, ท่านศาสดา (ขอความสันติสุขจงมีแด่ท่าน) จึงได้ให้เธอ
เลือก [ว่าจะสมรสหรือปฏิเสธ]” (อะหมัด ฮะดีษ หมายเลข 2469)
การบังคับลูกให้แต่งงานกับใครสักคน ถือเป็นเรื่องต้องห้ามในศาสนาอิสลามหรือไม่?
คำตอบอย่างเด็ดขาดสุดๆก็คือ ในเรื่องการแต่งงานนี้เป็นสิทธิของผู้เยาว์เอง การแต่งงานถือเป็นเรื่องส่วนตัวอย่างหนึ่งของบุคคล และไม่อนุญาตให้พ่อแม่บังคับให้ลูกสาวแต่งงานกับคนที่เธอไม่ต้องการแต่งงานด้วย เพราะนั่นจะเป็นการกดขี่และละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ในศาสนาอิสลามไม่มีผู้ใดที่สามารถจะออกกฏข้อบังคับทางศาสนาใช้บังคับมุสลิมได้นอกจากข้อบังคับที่อยู่ภายในบริบทของอัลกุรอานเท่านั้น ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นอีหม่ามหรือผู้นำทางศาสนาจึงไม่อาจจะออกบัญญัติคัดค้านบัญญํติของอัลลอฮ์/พระเจ้าได้
ชนชาติใดที่นับถือศาสนาอิสลามและยังมีประเพณีในการบังคับลูกสาวให้แต่งงานเมื่ออายุน้อยๆเช่นในประเทศบังคลาเทศ ถึงแม้ว่าจะเป็นสังคมมุสลิมก็ตาม แต่มีเหตุผลอื่นๆที่เกิดจากปัจจัยต่าง ๆ รวมถึงความยากจนความไม่มั่นคงความไม่เท่าเทียมทางการเจริญทางเพศซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของความรุนแรงทางเพศ และการละเลยหลักนิติธรรมและอำนาจของรัฐ ที่สำคัญคือขาดการเข้าถึงการศึกษาและเหตุผลอื่นๆทางครอบครัว
ซึ่งไม่เกี่ยวกับหลักการของศาสนาอิสลามทั้งสิ้น
มุสลิมจะต้องปฏิบัติตามซุนนะฮ (การปฏิบัติ) ของท่านศาสดามูฮัมมัด; ความพยายามใด ๆ ที่จะทำผิดกฎหมายการแต่งงานของเด็กนั้นขัดกับคำสอนของศาสนาอิสลาม การสมสู่ทางเพศก่อนการแต่งงานเป็นสิ่งต้องห้ามในศาสนาอิสลาม
เนื่องจากการเจริญเติบโตในวัยแรกรุ่นของเด็กหญิง การแต่งงานก่อนกำหนดเป็นวิธีแก้ปัญหาในชุมชนไม่จำกัดอยู่ในสังคมมุสลิมที่ยากจนและขาดการศึกษาเท่านั้นแต่ก็มีอยู่ในสังคมของผู้ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามเช่นกัน เพื่อที่จะจัดการกับความต้องการทางเพศตามธรรมชาติโดยการแต่งงานแต่เยาวัย (เช่นเดียวกับศาสนาพราหมณ์ในสมัยพุทธกาล ที่บังคับให้เด็กหญิงที่มีประจำเดือนเป็นครั้งแรกแต่งงานโดยเร็ว มิฉนั้นพ่อแม่จะรับโทษ “ผู้หญิงบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุสิบสองปี ชายสิบหกปี")
คำตอบคำถามเหล่านี้มาจาก UN สหประชาชาติ
ปัญหาการบังคับให้เด็กแต่งงานแต่เยาว์วัยในบังคลาเทศ
What is the cause of child marriage in Bangladesh?
The study also shows a strong association between child marriage and education and economic status, with higher rates of child marriage among women with low or no education and for those from families living in poverty.
Why is child marriage a problem in Bangladesh?
Child marriage often arises as a consequence of poverty — impoverished families seeking economic relief by marrying off their daughters. Child marriage consequently also contributes to poverty rates by eliminating working potential. Feb 6, 2023
A recent estimate reveals that Bangladesh ranked third in the prevalence of child marriage (69%) in the world (4). Poverty, protection of girls, family honor (Unintended pregnancies), and the provision of stability during unstable social periods are predicted to be significant factors in determining the causes of child marriage.
จะเห็นได้ว่า ปัญหา
เรื่อง "การบังคับให้เด็กแต่งงานแต่เยาว์วัยในบังคลาเทศ" ไม่มีอะไรที่เกี่ยวกับการนับถือศาสนาอิสลามหรือเป็นเพราะหลักการของศาสนาอิสลาม เอาเสียเลย แต่ในทางตรงกันข้ามศาสนาอิสลามได้ยุติการบังคับ Child marriage เป็นครั้งแรก เมื่อกว่า 1400 ปี ก่อนอารยธรรมในปัจจุบัน
การบังคับให้เด็กแต่งงานทันทีที่มีประจำเดือน (8-12 ขวบ) เกี่ยวข้องโดยตรงกับศาสนาพราหมณ์ในยุคพุทธกาล ก่อนที่พระพุทธองค์จะทรงอยู่ในสมณเพศ
ไม่มีอะไรที่เกี่ยวข้องกับคำสอนของศาสนาอิสลามแม้แต่น้อย
การบังคับให้เด็กแต่งงานหรือมีผัวแก่ในบังคลาเทศก็ไม่ต่างไปจากการบังคับเด็ก Child prostitutes (CPs) in Thailand
ซึ่งไม่ใช่หลักคำสอนของทั้งศาสนาอิสลามและไม่ใช่คำสอนของศาสนาพุทธเช่นกัน
มันเป็นแต่ความนิยมการใช้ชีวิตของชาติพันธ์ของแต่ละสังคม
แต่ การบังคับ"Child marriage" อย่างถูกต้องก่อนมีเพศสัมพันธ์ต่างกันมากกว่าการบังคับ "Child prostitutes"
"สิทธิมนุษยชน (Human Right)" ถือกำเนิดมาจากอัลกุรอาน ก่อน "อารยะธรรมปัจจุบัน" นานกว่า 1400 ปี มาแล้ว
[Shakir 4:19] O you who believe! it is not lawful for you that you should take women as heritage against (their) will, and do not straiten them in order that you may take part of what you have given them unless they are guilty of manifest indecency, and treat them kindly; then if you hate them, it may be that you dislike a thing while Allah has placed abundant good in it.
{4:19} โอ้ บรรดาผู้ที่มีศรัทธา! ไม่อนุมัติแก่พวกเธอ ที่จะเอาบรรดาสตรีเป็นมรดก (ทรัพย์สิน,สิ่งของ) และไม่อนุมัติเช่นเดียวกัน ที่จะขัดขวางพวกนาง เพื่อเอาบางส่วนของสิ่งที่พวกเธอได้เคยมอบให้แก่พวกนางนั้นคืนมา นอกจากว่าพวกนางจะกระทำสิ่งลามกอันชัดแจ้งเท่านั้น และจงอยู่ร่วมกับพวกนางด้วยดี หากพวกเธอรังเกียจพวกนาง ก็อาจเป็นไปได้ว่า การที่พวกเธอรังเกียจสิ่งหนึ่ง ขณะเดียวกันอัลลอฮฺก็ทรงให้มีความดีอันมากมายในสิ่งนั้น
لَا يَحِلُّ لَكُمْ أَنْ تَرِثُوا النِّسَاءَ كَرْهًا ۖ "มันเป็นการผิดกฏหมายที่จะบังคับหญิง(ในครอบครอง)โดยที่เธอไม่เต็มใจ" เพื่อแต่งงานกับผู้อื่นที่เธอไม่เต็มใจ
ในสมัยก่อนอิสลาม ในครอบครัวของพวกอรับผู้ชาเจว็ด ที่หัวหน้าครอบครัวมีภรรยาจำนวนมาก เมื่อสามีตายบรรดาญาติก็จะแบ่งภรรยาเหล่านี้เสมือนทรัพย์สินเพื่อเอาไปขายหรือไปเป็นเมียผู้อื่น หรือของตัวเอง และอีกวิธีหนึ่งคือการฝืนใจ ภรรยาโดยขังเธอไว้ในบ้านเพื่อบังคับให้แยกตัวและสละบุตรสาวหรือมรดกของพวกเขา ธรรมเนียมอันป่าเถื่อนดังกล่าวทั้งหมดถูกกวาดล้างโดยสิ้นเชิง หลังจากการประกาศศาสนาอิสลาม บัญญัตินี้มีคำสั่งห้ามการบังคับหญิงเยี่ยงมรดก ในการที่จะบังคับฝืนใจเธอให้เธอแต่งงานกับคนที่เธอไม่เต็มใจจะแต่งงานด้วย
นี่ก็เป็นอีกข้อหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าศาสนาอิสลามให้สิทธิมสตรีในการตัดสินใจตามที่เธอปรารถนา ก่อนที่จะมีอารยธรรมปัจจุบัน ที่กล่าวถึง "สิทธิมนุษยชน (Human Right)" มานานกว่า 1400 ปีแล้ว อาจจะกล่าวได้ว่า อารยธรรมปัจจุบัน หรือ "สิทธิมนุษยชน (Human Right)" นี้ถือกำเนิดมาจากอัลกุรอาน ก็ไม่ผิดนัก เพราะว่า ชาวยุโรปศึกษาอัลกุรอานมานานตั้งแต่ศาสนาอิสลามแพร่ขยายเข้าในยุโรปในปี 711 CE (AD) ศตวรรษที่ 7
หลักฐานจากฮาดีษ: “มีรายงานว่า; มีหญิงสาวพรหมจารีคนหนึ่งเข้ามาหาท่านศาสดามูฮัมมัด (ขอความสันติสุขจงมีแด่ท่าน)
และกล่าวว่าบิดาของเธอบังคับให้เธอแต่งงานโดยที่เธอไม่เต็มใจ, ท่านศาสดา (ขอความสันติสุขจงมีแด่ท่าน) จึงได้ให้เธอ
เลือก [ว่าจะสมรสหรือปฏิเสธ]” (อะหมัด ฮะดีษ หมายเลข 2469)
การบังคับลูกให้แต่งงานกับใครสักคน ถือเป็นเรื่องต้องห้ามในศาสนาอิสลามหรือไม่?
คำตอบอย่างเด็ดขาดสุดๆก็คือ ในเรื่องการแต่งงานนี้เป็นสิทธิของผู้เยาว์เอง การแต่งงานถือเป็นเรื่องส่วนตัวอย่างหนึ่งของบุคคล และไม่อนุญาตให้พ่อแม่บังคับให้ลูกสาวแต่งงานกับคนที่เธอไม่ต้องการแต่งงานด้วย เพราะนั่นจะเป็นการกดขี่และละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ในศาสนาอิสลามไม่มีผู้ใดที่สามารถจะออกกฏข้อบังคับทางศาสนาใช้บังคับมุสลิมได้นอกจากข้อบังคับที่อยู่ภายในบริบทของอัลกุรอานเท่านั้น ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นอีหม่ามหรือผู้นำทางศาสนาจึงไม่อาจจะออกบัญญัติคัดค้านบัญญํติของอัลลอฮ์/พระเจ้าได้
ชนชาติใดที่นับถือศาสนาอิสลามและยังมีประเพณีในการบังคับลูกสาวให้แต่งงานเมื่ออายุน้อยๆเช่นในประเทศบังคลาเทศ ถึงแม้ว่าจะเป็นสังคมมุสลิมก็ตาม แต่มีเหตุผลอื่นๆที่เกิดจากปัจจัยต่าง ๆ รวมถึงความยากจนความไม่มั่นคงความไม่เท่าเทียมทางการเจริญทางเพศซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของความรุนแรงทางเพศ และการละเลยหลักนิติธรรมและอำนาจของรัฐ ที่สำคัญคือขาดการเข้าถึงการศึกษาและเหตุผลอื่นๆทางครอบครัว ซึ่งไม่เกี่ยวกับหลักการของศาสนาอิสลามทั้งสิ้น
มุสลิมจะต้องปฏิบัติตามซุนนะฮ (การปฏิบัติ) ของท่านศาสดามูฮัมมัด; ความพยายามใด ๆ ที่จะทำผิดกฎหมายการแต่งงานของเด็กนั้นขัดกับคำสอนของศาสนาอิสลาม การสมสู่ทางเพศก่อนการแต่งงานเป็นสิ่งต้องห้ามในศาสนาอิสลาม
เนื่องจากการเจริญเติบโตในวัยแรกรุ่นของเด็กหญิง การแต่งงานก่อนกำหนดเป็นวิธีแก้ปัญหาในชุมชนไม่จำกัดอยู่ในสังคมมุสลิมที่ยากจนและขาดการศึกษาเท่านั้นแต่ก็มีอยู่ในสังคมของผู้ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามเช่นกัน เพื่อที่จะจัดการกับความต้องการทางเพศตามธรรมชาติโดยการแต่งงานแต่เยาวัย (เช่นเดียวกับศาสนาพราหมณ์ในสมัยพุทธกาล ที่บังคับให้เด็กหญิงที่มีประจำเดือนเป็นครั้งแรกแต่งงานโดยเร็ว มิฉนั้นพ่อแม่จะรับโทษ “ผู้หญิงบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุสิบสองปี ชายสิบหกปี")
คำตอบคำถามเหล่านี้มาจาก UN สหประชาชาติ
ปัญหาการบังคับให้เด็กแต่งงานแต่เยาว์วัยในบังคลาเทศ
What is the cause of child marriage in Bangladesh?
The study also shows a strong association between child marriage and education and economic status, with higher rates of child marriage among women with low or no education and for those from families living in poverty.
Why is child marriage a problem in Bangladesh?
Child marriage often arises as a consequence of poverty — impoverished families seeking economic relief by marrying off their daughters. Child marriage consequently also contributes to poverty rates by eliminating working potential. Feb 6, 2023
A recent estimate reveals that Bangladesh ranked third in the prevalence of child marriage (69%) in the world (4). Poverty, protection of girls, family honor (Unintended pregnancies), and the provision of stability during unstable social periods are predicted to be significant factors in determining the causes of child marriage.
จะเห็นได้ว่า ปัญหา เรื่อง "การบังคับให้เด็กแต่งงานแต่เยาว์วัยในบังคลาเทศ" ไม่มีอะไรที่เกี่ยวกับการนับถือศาสนาอิสลามหรือเป็นเพราะหลักการของศาสนาอิสลาม เอาเสียเลย แต่ในทางตรงกันข้ามศาสนาอิสลามได้ยุติการบังคับ Child marriage เป็นครั้งแรก เมื่อกว่า 1400 ปี ก่อนอารยธรรมในปัจจุบัน
การบังคับให้เด็กแต่งงานทันทีที่มีประจำเดือน (8-12 ขวบ) เกี่ยวข้องโดยตรงกับศาสนาพราหมณ์ในยุคพุทธกาล ก่อนที่พระพุทธองค์จะทรงอยู่ในสมณเพศ
ไม่มีอะไรที่เกี่ยวข้องกับคำสอนของศาสนาอิสลามแม้แต่น้อย