1.ระยะเวลาการขึ้นเงิน อ่านข่าวแล้วยังไม่ชัดเจนว่า"ในภายหลัง"หมายความว่าอย่างไรกันแน่
คิดว่าควรกำหนดเป็นภายหลังสิ้นสุดโครงการเช่น โครงการสิ้นสุด เดือนกันยายน 67 ก็ต้องรอจนกว่าจะถึงกันยายน 67 ถึงจะแลกเงินได้
เช่น
ถ้าไม่กำหนด
นาย A ได้รับเงินดิจิทัล 10,000 บาท ไปซื้อของ
ร้านค้า รับ 10,000 แล้วไปแลกกับ ธนาคารเลย
เงินหมุน แค่ 1 ครั้ง
ถ้ากำหนดสมมุติว่าระยะเวลาการขึ้นเงินดิจิทัลไว้ที่หลังจบโครงการ คาดว่าคนจะไม่ถือเงินไว้นาน จะรีบใช้ไม่งั้นต้องรอจบโครงการ
จะทำให้เงินมีโอกาสหมุนมากกว่าเดิม
2. ค่าน้ำ ค่าไฟ ส่วนตัวอยากให้ลดค่าน้ำ ค่าไฟ ได้ในวงเงิน 500 (ต้องไปศึกษากฎหมายว่าไม่ถูกตีความว่าเป็น e money เป็นแค่คูปอง)
ข้อดีคือ
- สร้างความมั่นใจว่าเงินดิจิทัล ใช้ได้จริงอย่างน้อยก็ลดค่าน้ำ ค่าไฟ ได้
- เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายประชาชนภายในตัว แต่ต้องไปเพิ่มวัตถุประสงค์โครงการ
ส่วนข้อเสียคือ เงินอาจเปลี่ยนมือแค่ 1 รอบ
ถ้าการไฟฟ้า ประปาไม่นำเงินดิจิทัลไปใช้ต่อได้ จึงกำหนดวงเงินเพียง 500 บาท
ข้อเสนอเงินดิจิทัล 10000บาท (ระยะเวลา การขึ้นเงิน ค่าน้ำ ค่าไฟ)
คิดว่าควรกำหนดเป็นภายหลังสิ้นสุดโครงการเช่น โครงการสิ้นสุด เดือนกันยายน 67 ก็ต้องรอจนกว่าจะถึงกันยายน 67 ถึงจะแลกเงินได้
เช่น
ถ้าไม่กำหนด
นาย A ได้รับเงินดิจิทัล 10,000 บาท ไปซื้อของ
ร้านค้า รับ 10,000 แล้วไปแลกกับ ธนาคารเลย
เงินหมุน แค่ 1 ครั้ง
ถ้ากำหนดสมมุติว่าระยะเวลาการขึ้นเงินดิจิทัลไว้ที่หลังจบโครงการ คาดว่าคนจะไม่ถือเงินไว้นาน จะรีบใช้ไม่งั้นต้องรอจบโครงการ
จะทำให้เงินมีโอกาสหมุนมากกว่าเดิม
2. ค่าน้ำ ค่าไฟ ส่วนตัวอยากให้ลดค่าน้ำ ค่าไฟ ได้ในวงเงิน 500 (ต้องไปศึกษากฎหมายว่าไม่ถูกตีความว่าเป็น e money เป็นแค่คูปอง)
ข้อดีคือ
- สร้างความมั่นใจว่าเงินดิจิทัล ใช้ได้จริงอย่างน้อยก็ลดค่าน้ำ ค่าไฟ ได้
- เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายประชาชนภายในตัว แต่ต้องไปเพิ่มวัตถุประสงค์โครงการ
ส่วนข้อเสียคือ เงินอาจเปลี่ยนมือแค่ 1 รอบ
ถ้าการไฟฟ้า ประปาไม่นำเงินดิจิทัลไปใช้ต่อได้ จึงกำหนดวงเงินเพียง 500 บาท