เข้าไปอ่านนโนบายเศรษฐกิจของ ก้าวไกล แล้วสงสัยว่านโยบายบางอย่างจะทำได้จริงหรอครับ บางอย่างดูเอาไปใช้จริงยากมาก
1. Net metering โซลาร์ภาคประชาชน ให้จ่ายโซลาร์ที่ผลิตเกิน ย้อนกลับเข้า grid ได้ หม้อแปลงไม่ระเบิดหรอครับ จะลงทุน Smart grid ทุกพื้นที่ ใช้งบประมาณเท่าไหร่ครับ มันจะเป็นไปได้หรอครับ
2. ทลายทุนผูกขาด definition ของทุนผูกขาด (ไม่นับที่ชัดเจนแบบได้สัมปทาน) คืออะไรบ้างครับ บริษัทไทยที่สร้าง ความสามารถในการแข่งขันเอง ไม่ได้ใช้กฎหมายเอื้อต้องโดน handicap หมด? ทำไมเกาหลี ไต้หวันญี่ปุ่นถึงสนับสนุน บริษัทเรือธง เช่น Samsung TSMC Toyota (สัดส่วนมหาศาลต่อ GDP ประเทศเขา เกิน10%) ให้ไปแข่ง ระดับโลกได้ แต่เราจะ handicap บริษัทเรือธงในประเทศตัวเอง ทุนผูกขาดอันนี้รวมถึง รัฐวิสาสหกิจ แบบ ปตท. ด้วยมั้ย อ่านนโยบายแล้วยังไม่เคลียร์ครับ แต่รัฐถือหุ้น 51% เขาส่งรายได้เข้ารัฐปีละ 2-3 หมื่นล้านบาท กว่าจะฟูมฟัก PTTEP ไปแข่งระดับโลกได้นี่น่าจะมีเป็นสิบปี สรุปทุนผูกขาดนี่หมายถึงใครมั่งครับ
3. ยกเลิก BOI เวียดนามค่าแรงถูกกว่า มี BOI 4 ปี (ถ้าจำไม่ผิด) ตอนนี้ไฟฟ้าเสถียรสู้เราได้แล้ว GDP โตกว่า / ประชากรวัยทำงานเยอะกว่า ใครจะตัดสินใจมาลงทุนประเทศไทยครับ ถ้าไม่มีนโยบายให้ benefit ทางภาษีเหมือนคู่แข่ง
ยกเลิก ลดภาษีนิติบุคคล SME แต่ขึ้นค่าแรง ชดเชยได้หรอครับ แล้วชีวิตจริงปัจจุลัน SME ส่งงบสะท้อนความจริงหมดหรอครับ ขึ้นค่าแรงน่าจะกระทบเขามากกว่ามั้ยครับ กว่าภาษีที่ลดไป
4. เอาแก๊สธรรมชาติ ไปผลิตไฟฟ้าแทนการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ซึ่งมันมี value added มหาศาล อันนี้คือคุ้มค่าแล้วใช่มั้ยครับ (ผู้ถือหุ้นใหญ่ของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในไทยก็คือรัฐนะครับ ทำแล้วมันไม่ backfire รายได้รัฐลดลงหรอครับ)
5. ดึงดูดการลงทุนอุตสาหกรรมชิป ยกตัวอย่างเช่น TSMC เขา ลงทุน ค่า R&D ระดับล้านล้านบาทต่อปี โรงงานระดับ 100 billion usd เขาจะมาตั้งโรงงานใหม่เพื่อป้อนชิป ให้อุตสาหกรรม EV แค่นั้นเลยหรอ export มาน่าจะคุ้มค่ากว่ามาตั้งโรงงานมั้ยครับ Target ที่จะไปชวนเขามาลงทุนคือบริษัทอะไรบ้างหรอครับ
นโยบายบางอย่างของก้าวไกลจะทำได้จริงหรอครับ (แสดงความเห็นเชิงสร้างสรรค์)
1. Net metering โซลาร์ภาคประชาชน ให้จ่ายโซลาร์ที่ผลิตเกิน ย้อนกลับเข้า grid ได้ หม้อแปลงไม่ระเบิดหรอครับ จะลงทุน Smart grid ทุกพื้นที่ ใช้งบประมาณเท่าไหร่ครับ มันจะเป็นไปได้หรอครับ
2. ทลายทุนผูกขาด definition ของทุนผูกขาด (ไม่นับที่ชัดเจนแบบได้สัมปทาน) คืออะไรบ้างครับ บริษัทไทยที่สร้าง ความสามารถในการแข่งขันเอง ไม่ได้ใช้กฎหมายเอื้อต้องโดน handicap หมด? ทำไมเกาหลี ไต้หวันญี่ปุ่นถึงสนับสนุน บริษัทเรือธง เช่น Samsung TSMC Toyota (สัดส่วนมหาศาลต่อ GDP ประเทศเขา เกิน10%) ให้ไปแข่ง ระดับโลกได้ แต่เราจะ handicap บริษัทเรือธงในประเทศตัวเอง ทุนผูกขาดอันนี้รวมถึง รัฐวิสาสหกิจ แบบ ปตท. ด้วยมั้ย อ่านนโยบายแล้วยังไม่เคลียร์ครับ แต่รัฐถือหุ้น 51% เขาส่งรายได้เข้ารัฐปีละ 2-3 หมื่นล้านบาท กว่าจะฟูมฟัก PTTEP ไปแข่งระดับโลกได้นี่น่าจะมีเป็นสิบปี สรุปทุนผูกขาดนี่หมายถึงใครมั่งครับ
3. ยกเลิก BOI เวียดนามค่าแรงถูกกว่า มี BOI 4 ปี (ถ้าจำไม่ผิด) ตอนนี้ไฟฟ้าเสถียรสู้เราได้แล้ว GDP โตกว่า / ประชากรวัยทำงานเยอะกว่า ใครจะตัดสินใจมาลงทุนประเทศไทยครับ ถ้าไม่มีนโยบายให้ benefit ทางภาษีเหมือนคู่แข่ง
ยกเลิก ลดภาษีนิติบุคคล SME แต่ขึ้นค่าแรง ชดเชยได้หรอครับ แล้วชีวิตจริงปัจจุลัน SME ส่งงบสะท้อนความจริงหมดหรอครับ ขึ้นค่าแรงน่าจะกระทบเขามากกว่ามั้ยครับ กว่าภาษีที่ลดไป
4. เอาแก๊สธรรมชาติ ไปผลิตไฟฟ้าแทนการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ซึ่งมันมี value added มหาศาล อันนี้คือคุ้มค่าแล้วใช่มั้ยครับ (ผู้ถือหุ้นใหญ่ของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในไทยก็คือรัฐนะครับ ทำแล้วมันไม่ backfire รายได้รัฐลดลงหรอครับ)
5. ดึงดูดการลงทุนอุตสาหกรรมชิป ยกตัวอย่างเช่น TSMC เขา ลงทุน ค่า R&D ระดับล้านล้านบาทต่อปี โรงงานระดับ 100 billion usd เขาจะมาตั้งโรงงานใหม่เพื่อป้อนชิป ให้อุตสาหกรรม EV แค่นั้นเลยหรอ export มาน่าจะคุ้มค่ากว่ามาตั้งโรงงานมั้ยครับ Target ที่จะไปชวนเขามาลงทุนคือบริษัทอะไรบ้างหรอครับ