กิจการ รถไฟ มาก่อน
กิจการเดินรถเมล์..
.. พอมีการทำรถไฟ ลากไปจังหวัดไหน
รอบๆ สถานีรถไฟ จะเป็นแหล่งชุมชน
มีการสร้างห้องแถว ตลาดให้เช่า เก็บรายได้
ถ้าเป็น สถานีใหญ่ จะมี โรงแรมรถไฟ
มีสนามกอล์ฟ ด้วยละ มีสนามบอล สนามเทนนิสให้เช่าด้วย
สถานีอยู่ ใกล้ทะเล นิ สถานี เกรด A เลย
การคัดเลือก นายสถานี กับ คนที่ไป บริหาร กิจการ
โรงแรม จะมีความรู้เรื่องการบริหารด้วย
ถ้างานส่วนนี้ มีกำไร จนท. ในความรับผิดชอบ ของสถานี และ มนฑลรถไฟ จะมีโบนัส พิเศษด้วย..
รถไฟแบบ ชั้น 3 ถูกหน่อยสำหรับ คน รายได้น้อย
ชั้น 2 ชั้น 1 ก็แพงหน่อย
...
หลายสิบปี 60 70 ต่อมา เริ่มมีถนน
รถไฟ ก็มองว่า .. ถนนมา คนใช้รถไฟ อาจน้อยลง
ก็เลยเอาพื้นรถไฟ ที่ มีการสร้างถนน ไฮเวย์ใหม่
รถไฟก็เลย ให้เอกเช่าที่ดิน ในราคา สูงสร้างห้าง
และถือหุ้นในห้างนั้นด้วย..
และ ก็ ไปสร้างห้างของ ตัวเอง อีกแห่ง ทางเหนือออกไป โดยมีการขอ ให้ ตัด ถนน จาก สถานีรถไฟเพิ่ม
ลากออกมา ที่ห้าง ทางทิศเหนือ
ระยะทางที่ ขยายถนน จากสถานีรถไฟ มาห้าง
แห่งที่สอง 7 กม. สองข้างทาง เจริญขึ้น
กิจการรถไฟ ก็ซื้อที่ดิน พัฒนาทำบ้านเดี่ยวขาย
ทำทาวน์เฮาท์ เป็นทางเลือกให้คนซื้อบ้านเดี่ยว
ที่ราคาถูกกว่าในเมือง แล้วนั่งระไฟชานเมือง
วิ่งเข้ามา 30 กม.
เข้าไปทำงานได้ 35 40 นาที ก็ถึงกลางเมืองละ
.....
ส่วนกิจการรถเมลเมือง
เวลาไปตั้ง เขตการเดินรถ อู่รถเมล์ ตามที่ต่างๆ
จะ กันพื้นที่ บริเวณรอบๆ เลือกพื้นที่ ใกล้ๆ
ทำตลาด และห้างขนาดเล็ก
ทำคอนโด ให้เช้า และขายในบางทีไปด้วย
เพราะคน ออกกฏหมาย ให้สถานะ กิจการรถเมล์
ทำแบบเอกชน และให้ทุนประเดิมมา โดยการซื้อรถเมลให้
แต่ที่ดิน
ให้แบ่งรายได้จากค่าเดินรถไปจ่าย ที่ดินซื้อ
ตอนที่ไม่เจริญ มันก็ไม่แพง ...
.... ทุกอย่างทั้งสอง องค์กร มีคณะกรรมการ
ตรวจสอบและ กำกับดูแล และฝ่ายตรวจสอบการลงทุน ฉะนั้น การรั่วไหลจึงน้อยมาก
เงินเหลือก็เอาไปลงทุนในหุ้น บ.ต่างๆ
น้ำมัน ธนาคาร อสังหา...
ส่วนกิจการสื่อสาร ผบห.กิจการรถไฟมองว่า
อนาคต การสื่อสารจะเติบโตและ สังคมขาดไม่ได้
เลยทำกิจการ โรศัพท์มือถือเองเลย แต่ร่วมทุนกับ
ต่างชาติที่ชำนาญด้านนี้ และ ออกแบบมือถือสวยๆ
เปิดให้คนได้ซื้อโทรศัพท์ใช้ และ ราคาถูกกว่า
บ.ต่างชาติ...
... จากนั้นก็ เอา กิจการมือถือ เข้าตลาดหุ้น
ทั้งสององค์กร
พนักงานก็มี สวัสดิการ ที่ดี .. ทำงานจนเกษียณอายุ
มีเงินเก็บจ่ายอีกก้อน ไปใช้ชีวิตตอนแก่ๆ ได้สบายๆเลย.
......
และพอเข้า สู่ยุคสมัยใหม่ ครบรอบ 140 ปี
กิจการรถไฟ ก็มีแนวคิดว่าจะเอา
1. กิจการส่วนอสังหาริมทรัพย์ ที่มีกำไร
2. กิจการเดินรถ ส่วนที่เป็น รถชั้น 1 และ 2 และรถรถไฟลอยฟ้า ที่ทำกำไร มาอุดหนุนรถไฟชั้น 3 ให้คนรายได้น้อยไม่ต้องเสียค่ารถแพงเกินไป คือ ยอมขาดทุนในชั้นสาม
มาแยกเป็น บริษัทย่อย และเข้าตลาดหุ้น
ทั้ง 2 บมจ . มีปันผล ปี ละ 7- 8 %
ส่วนกิจการรถไฟ ตัวหลัก กำไรปีละ เกือบหมื่นล้าน
... อันนี้ เล่าให้ฟัง ....
อาจเป็นประเทศใด ประเทศหนึ่งในโลก คู่ขนานก็ได้
เพราะเราไปดาวแต่ละดวง ก็จะวางระบบ ให้แบบนี้
มนุษย์ ต้องใช้ ปัจจัย 4 ยังไงรูปแบบความเจริญ
ก็แบบนี้ละ ...ไม่ใช่ว่า เราโผล่ไป สังคมที่ยังล่าสัตว์
กำลังหัดใช้หิน ทำมีด.. แล้วเราให้มือถือ ให้เค้าใช้นะ
ทุกอย่างทำตามระบบ ค่อยๆพัฒนา
....แต่ละคน คิดว่า กิจการ เพื่อสังคม การเดินรถ
การขนส่งคน จำเป็นต้องขาดทุน เสมอไป หรือไม่..
มันทำกำไรได้จริงๆ ปัจจัย คือคน และ ก็คน ที่วางแผน
และบริหารเป็น ไม่ใช้มาลองผิดลองถูก
เล่าเรื่อง กิจการรถไฟ และ องค์การรถเมล์เมือง. กิจการดี มีกำไร ทำได้..เอาเข้าตลาดหุ้น
กิจการเดินรถเมล์..
.. พอมีการทำรถไฟ ลากไปจังหวัดไหน
รอบๆ สถานีรถไฟ จะเป็นแหล่งชุมชน
มีการสร้างห้องแถว ตลาดให้เช่า เก็บรายได้
ถ้าเป็น สถานีใหญ่ จะมี โรงแรมรถไฟ
มีสนามกอล์ฟ ด้วยละ มีสนามบอล สนามเทนนิสให้เช่าด้วย
สถานีอยู่ ใกล้ทะเล นิ สถานี เกรด A เลย
การคัดเลือก นายสถานี กับ คนที่ไป บริหาร กิจการ
โรงแรม จะมีความรู้เรื่องการบริหารด้วย
ถ้างานส่วนนี้ มีกำไร จนท. ในความรับผิดชอบ ของสถานี และ มนฑลรถไฟ จะมีโบนัส พิเศษด้วย..
รถไฟแบบ ชั้น 3 ถูกหน่อยสำหรับ คน รายได้น้อย
ชั้น 2 ชั้น 1 ก็แพงหน่อย
...
หลายสิบปี 60 70 ต่อมา เริ่มมีถนน
รถไฟ ก็มองว่า .. ถนนมา คนใช้รถไฟ อาจน้อยลง
ก็เลยเอาพื้นรถไฟ ที่ มีการสร้างถนน ไฮเวย์ใหม่
รถไฟก็เลย ให้เอกเช่าที่ดิน ในราคา สูงสร้างห้าง
และถือหุ้นในห้างนั้นด้วย..
และ ก็ ไปสร้างห้างของ ตัวเอง อีกแห่ง ทางเหนือออกไป โดยมีการขอ ให้ ตัด ถนน จาก สถานีรถไฟเพิ่ม
ลากออกมา ที่ห้าง ทางทิศเหนือ
ระยะทางที่ ขยายถนน จากสถานีรถไฟ มาห้าง
แห่งที่สอง 7 กม. สองข้างทาง เจริญขึ้น
กิจการรถไฟ ก็ซื้อที่ดิน พัฒนาทำบ้านเดี่ยวขาย
ทำทาวน์เฮาท์ เป็นทางเลือกให้คนซื้อบ้านเดี่ยว
ที่ราคาถูกกว่าในเมือง แล้วนั่งระไฟชานเมือง
วิ่งเข้ามา 30 กม.
เข้าไปทำงานได้ 35 40 นาที ก็ถึงกลางเมืองละ
.....
ส่วนกิจการรถเมลเมือง
เวลาไปตั้ง เขตการเดินรถ อู่รถเมล์ ตามที่ต่างๆ
จะ กันพื้นที่ บริเวณรอบๆ เลือกพื้นที่ ใกล้ๆ
ทำตลาด และห้างขนาดเล็ก
ทำคอนโด ให้เช้า และขายในบางทีไปด้วย
เพราะคน ออกกฏหมาย ให้สถานะ กิจการรถเมล์
ทำแบบเอกชน และให้ทุนประเดิมมา โดยการซื้อรถเมลให้
แต่ที่ดิน
ให้แบ่งรายได้จากค่าเดินรถไปจ่าย ที่ดินซื้อ
ตอนที่ไม่เจริญ มันก็ไม่แพง ...
.... ทุกอย่างทั้งสอง องค์กร มีคณะกรรมการ
ตรวจสอบและ กำกับดูแล และฝ่ายตรวจสอบการลงทุน ฉะนั้น การรั่วไหลจึงน้อยมาก
เงินเหลือก็เอาไปลงทุนในหุ้น บ.ต่างๆ
น้ำมัน ธนาคาร อสังหา...
ส่วนกิจการสื่อสาร ผบห.กิจการรถไฟมองว่า
อนาคต การสื่อสารจะเติบโตและ สังคมขาดไม่ได้
เลยทำกิจการ โรศัพท์มือถือเองเลย แต่ร่วมทุนกับ
ต่างชาติที่ชำนาญด้านนี้ และ ออกแบบมือถือสวยๆ
เปิดให้คนได้ซื้อโทรศัพท์ใช้ และ ราคาถูกกว่า
บ.ต่างชาติ...
... จากนั้นก็ เอา กิจการมือถือ เข้าตลาดหุ้น
ทั้งสององค์กร
พนักงานก็มี สวัสดิการ ที่ดี .. ทำงานจนเกษียณอายุ
มีเงินเก็บจ่ายอีกก้อน ไปใช้ชีวิตตอนแก่ๆ ได้สบายๆเลย.
......
และพอเข้า สู่ยุคสมัยใหม่ ครบรอบ 140 ปี
กิจการรถไฟ ก็มีแนวคิดว่าจะเอา
1. กิจการส่วนอสังหาริมทรัพย์ ที่มีกำไร
2. กิจการเดินรถ ส่วนที่เป็น รถชั้น 1 และ 2 และรถรถไฟลอยฟ้า ที่ทำกำไร มาอุดหนุนรถไฟชั้น 3 ให้คนรายได้น้อยไม่ต้องเสียค่ารถแพงเกินไป คือ ยอมขาดทุนในชั้นสาม
มาแยกเป็น บริษัทย่อย และเข้าตลาดหุ้น
ทั้ง 2 บมจ . มีปันผล ปี ละ 7- 8 %
ส่วนกิจการรถไฟ ตัวหลัก กำไรปีละ เกือบหมื่นล้าน
... อันนี้ เล่าให้ฟัง ....
อาจเป็นประเทศใด ประเทศหนึ่งในโลก คู่ขนานก็ได้
เพราะเราไปดาวแต่ละดวง ก็จะวางระบบ ให้แบบนี้
มนุษย์ ต้องใช้ ปัจจัย 4 ยังไงรูปแบบความเจริญ
ก็แบบนี้ละ ...ไม่ใช่ว่า เราโผล่ไป สังคมที่ยังล่าสัตว์
กำลังหัดใช้หิน ทำมีด.. แล้วเราให้มือถือ ให้เค้าใช้นะ
ทุกอย่างทำตามระบบ ค่อยๆพัฒนา
....แต่ละคน คิดว่า กิจการ เพื่อสังคม การเดินรถ
การขนส่งคน จำเป็นต้องขาดทุน เสมอไป หรือไม่..
มันทำกำไรได้จริงๆ ปัจจัย คือคน และ ก็คน ที่วางแผน
และบริหารเป็น ไม่ใช้มาลองผิดลองถูก