คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 7
จากหลายๆ คห. นี่จะบอกว่า ที่มันเกินมาขนาดนี้คือ ปกติแล้วเหรอครับ
10 ปี กำลังการผลิต ขึ้นมาสองเท่า ทั้งๆที่ก่อนโควิด ไม่มีปีไหนความต้องการขึ้นมาถึง 10% ด้วยซ้ำ แถมบางปีติดลบ
แล้วจะเอาไปเทียบกับการสร้างตึก สร้างสนามบิน มันใช่เหรอครับ
ถามง่ายๆ ครับ ว่ากำลังการผลิตส่วนเกิน ใครได้อะไร ใครเสียอะไร มันเหมือนสร้างตึก สร้างสนามบินไหมครับ
และ การเพิ่มกำลังการผลิต จำเป็นต้องเพิ่มตูมเดียวเยอะๆไหมครับ
10 ปี กำลังการผลิต ขึ้นมาสองเท่า ทั้งๆที่ก่อนโควิด ไม่มีปีไหนความต้องการขึ้นมาถึง 10% ด้วยซ้ำ แถมบางปีติดลบ
แล้วจะเอาไปเทียบกับการสร้างตึก สร้างสนามบิน มันใช่เหรอครับ
ถามง่ายๆ ครับ ว่ากำลังการผลิตส่วนเกิน ใครได้อะไร ใครเสียอะไร มันเหมือนสร้างตึก สร้างสนามบินไหมครับ
และ การเพิ่มกำลังการผลิต จำเป็นต้องเพิ่มตูมเดียวเยอะๆไหมครับ
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ค่าไฟฟ้าแพง คือ การสำรองไฟฟ้า ความมั่นคงด้านพลังงาน มาดูสิว่าคนที่บริหารงานตรงนี้เก่งแค่ไหน?
ปี 2556 ปริมาณใช้ไฟสูงสุด 26,598 MW กำลังการผลิต 27,000 MW คิดเป็นไฟฟ้าสำรอง 1.50%
ปี 2562 ปริมาณใช้ไฟสูงสุด 29,680 MW กำลังการผลิต 42,620 MW คิดเป็นไฟฟ้าสำรอง 43.60%
ปี 2566 ปริมาณใช้ไฟสูงสุด 33,000 MW กำลังการผลิต 49,510 MW คิดเป็นไฟฟ้าสำรอง 50.00%
จากปี 56 มาปี 66 ผ่านมา 10 ปี ปริมาณใช้การไฟฟ้าสูงสุดเพิ่มขึ้น 24% แต่รัฐผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 83 % สำรองไฟฟ้ามากเกินไปหรือไม่
วิสัยทัศน์ผู้บริหารงานตรงนี้มีแค่ไหน?