สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 7
ในกรณีที่ A กับ B อยู่ในตำแหน่งที่ level เท่ากัน
ไม่ควรยุ่ง เพราะ
1 A ไม่มีทางรู้เรื่องงานของ C เท่า B เพราะ B เป็นคนจ่ายงาน เป็นคนประเมินผลงาน
2 เรื่องที่ A คิดว่าเป็นแค่ความผิดพลาดเล็กน้อยในสายงานของ B อาจเป็นเรื่องใหญ่ ที่สายงานนั้นเน้นย้ำให้ระวังอยู่เสมอ
3 มารยาทที่ A ควรมีต่อ B ในการควบคุมทีมของตัวเอง
ขอสาเหตุที่ควรเข้าไปยุ่งดีกว่าครับ ที่ทำแล้วได้ผลดีกับ A ขอสัก 1 ข้อครับ
ไม่ควรยุ่ง เพราะ
1 A ไม่มีทางรู้เรื่องงานของ C เท่า B เพราะ B เป็นคนจ่ายงาน เป็นคนประเมินผลงาน
2 เรื่องที่ A คิดว่าเป็นแค่ความผิดพลาดเล็กน้อยในสายงานของ B อาจเป็นเรื่องใหญ่ ที่สายงานนั้นเน้นย้ำให้ระวังอยู่เสมอ
3 มารยาทที่ A ควรมีต่อ B ในการควบคุมทีมของตัวเอง
ขอสาเหตุที่ควรเข้าไปยุ่งดีกว่าครับ ที่ทำแล้วได้ผลดีกับ A ขอสัก 1 ข้อครับ
สมาชิกหมายเลข 857112 ถูกใจ, fukaze ถูกใจ, ชัยiriver ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 6840599 ถูกใจ, wanna travel every day ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 6545540 ถูกใจ, zealottan ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 6424919 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 1948184 ถูกใจ, ครอบครัวตัว ม ถูกใจรวมถึงอีก 6 คน ร่วมแสดงความรู้สึก
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
มนุษย์เงินเดือน
การประเมินผลพนักงาน (Employee Appraisal)
หากเห็นลูกน้องทีมอื่นโดนรังแก คนเป็นหัวหน้าของอีกทีมควรจะทำอะไรไหมครับ
หาก A เห็นว่าระหว่างคุยงานหลายๆครั้งกับ bTeam, B มักจะตำหนิ จับผิด กดดัน C, ทั้งๆที่ A ก็เห็นว่า C ตั้งใจทำงาน และทำงานค่อนข้างใช้ได้, แต่ B ไม่เคยชมให้เห็น และถ้า C ทำพลาดเมื่อไหร่, B จะด่าแบบสะเทือนทีเดียว
หากเจอสถานการณ์แบบนี้ A ซึ่งพอมีอำนาจอยู่บ้าง ควรจะทำอะไรไหมครับ โดยเฉพาะยิ่งช่วงใกล้ประเมินสำคัญต่างๆ
หรือ A ควรจะคิดว่า “โทษทีนะ C เอ็งทำบุญมาน้อยเอง” แล้ว A ก็อยู่เงียบๆไป ดีกว่าหาเรื่องใส่ตัวครับ
ขอบคุณครับ