สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
เก็บซอสโค้ดไว้กับตัวสิครับ ไม่ต้องไปเปิดเพย บอกไปว่าเป็นของบริษัทเก่า ไม่ได้เอามาด้วย เค้ามีตรวจเช็คอยู่
จะจ้างก็ต้องมาเริ่มใหม่หมด 1-2 ปี คงเขียนเสร็จ แล้วค่อยมาอิมพีเม้นต์
***ถ้าคุณยอมบ. B เค้าได้ซอส ก็ไล่คุณออกแน่นอน ทรงโจรมาตั้งแต่ต้น
( อาจก๊อบให้ แต่ code หายไปเกินครึ่ง ได้มา Version 0.003 กระซิบเบาๆกูก็โจร เงินครบค่อยได้ตัวเต็ม 555 )
จะจ้างก็ต้องมาเริ่มใหม่หมด 1-2 ปี คงเขียนเสร็จ แล้วค่อยมาอิมพีเม้นต์
***ถ้าคุณยอมบ. B เค้าได้ซอส ก็ไล่คุณออกแน่นอน ทรงโจรมาตั้งแต่ต้น
( อาจก๊อบให้ แต่ code หายไปเกินครึ่ง ได้มา Version 0.003 กระซิบเบาๆกูก็โจร เงินครบค่อยได้ตัวเต็ม 555 )
ความคิดเห็นที่ 1
1. กรณีเคยเป็นพนักงานประจำของบริษัท A ลิขสิทธิ์เป็นของบริษัท A
2. กรณีรับจ้างเขียนโปรแกรม
2.1 สัญญาไม่ระบุเรื่องลิขสิทธิ์ กฎหมายถือว่าลิขสิทธิ์เป็นของผู้ว่าจ้าง (บริษัท A)
2.2 สัญญาระบุเรื่องลิขสิทธิ์ ว่าไปตามสัญญา
2.2.1 สัญญาให้ลิขสิทธิ์เป็นของบริษัท A
2.2.2 สัญญาให้ลิขสิทธิ์เป็นของผู้รับจ้าง
2.2.3 สัญญาให้ลิขสิทธิ์เป็นของบริษัท A บางส่วน และผู้รับจ้างบางส่วน
โดยเบื้องต้นลิขสิทธิ์เป็นของบริษัท A ไม่ว่าจะเป็นพนักงานประจำหรือรับจ้าง
เว้นแต่มีสัญญาให้เป็นอย่างอื่น
- กรณีเดียวที่สามารถนำโปรแกรมไปขายให้บริษัท B ได้ทั้งหมดคือกรณีที่ 2.2.2
- กรณีที่ 2.2.3 นำไปขายบริษัท B ได้เฉพาะส่วนลิขสิทธิ์ของตัวเอง แล้วเขียนโค้ดใหม่ในส่วนที่ขาด
- กรณีอื่นนอกจากนั้นนำไปขายให้บริษัท B ไม่ได้เลย
ผู้รับจ้างควรเขียนสัญญาให้ตนเองถือครองลิขสิทธิ์บ้าง (กรณีที่ 2.2.3)
ไม่จำเป็นต้องถือทั้งหมด แต่อย่างน้อยมีลิขสิทธิ์ในส่วน library หรือ function ที่ใช้บ่อยๆ
ไม่อย่างนั้นวุ่นวายตาย การเขียนโปรแกรมเหมือนลายมือ คนเดิมเขียนก็มักเขียนแบบเดิม
ถึงเขียนโค้ดใหม่ทั้งหมดแต่อาจซ้ำกับโค้ดที่เคยเขียนมา บริษัทเก่าจะฟ้องลิขสิทธิ์วุ่นวาย
ควรเขียนสัญญาดักทางไปเลยว่าโค้ดเล็กน้อยไม่นับ library ไม่นับ นับเฉพาะ feature ใหญ่ๆ
2. กรณีรับจ้างเขียนโปรแกรม
2.1 สัญญาไม่ระบุเรื่องลิขสิทธิ์ กฎหมายถือว่าลิขสิทธิ์เป็นของผู้ว่าจ้าง (บริษัท A)
2.2 สัญญาระบุเรื่องลิขสิทธิ์ ว่าไปตามสัญญา
2.2.1 สัญญาให้ลิขสิทธิ์เป็นของบริษัท A
2.2.2 สัญญาให้ลิขสิทธิ์เป็นของผู้รับจ้าง
2.2.3 สัญญาให้ลิขสิทธิ์เป็นของบริษัท A บางส่วน และผู้รับจ้างบางส่วน
โดยเบื้องต้นลิขสิทธิ์เป็นของบริษัท A ไม่ว่าจะเป็นพนักงานประจำหรือรับจ้าง
เว้นแต่มีสัญญาให้เป็นอย่างอื่น
- กรณีเดียวที่สามารถนำโปรแกรมไปขายให้บริษัท B ได้ทั้งหมดคือกรณีที่ 2.2.2
- กรณีที่ 2.2.3 นำไปขายบริษัท B ได้เฉพาะส่วนลิขสิทธิ์ของตัวเอง แล้วเขียนโค้ดใหม่ในส่วนที่ขาด
- กรณีอื่นนอกจากนั้นนำไปขายให้บริษัท B ไม่ได้เลย
ผู้รับจ้างควรเขียนสัญญาให้ตนเองถือครองลิขสิทธิ์บ้าง (กรณีที่ 2.2.3)
ไม่จำเป็นต้องถือทั้งหมด แต่อย่างน้อยมีลิขสิทธิ์ในส่วน library หรือ function ที่ใช้บ่อยๆ
ไม่อย่างนั้นวุ่นวายตาย การเขียนโปรแกรมเหมือนลายมือ คนเดิมเขียนก็มักเขียนแบบเดิม
ถึงเขียนโค้ดใหม่ทั้งหมดแต่อาจซ้ำกับโค้ดที่เคยเขียนมา บริษัทเก่าจะฟ้องลิขสิทธิ์วุ่นวาย
ควรเขียนสัญญาดักทางไปเลยว่าโค้ดเล็กน้อยไม่นับ library ไม่นับ นับเฉพาะ feature ใหญ่ๆ
ความคิดเห็นที่ 10
สัญญาจ้างงานมาตรฐาน ผลงานที่เกิดระหว่างการจ้างงาน โดยเฉพาะใช้ทรัพยากรของบริษัทพัฒนาขึ้นมา(เช่นเขียนในเวลางาน หรอกนอกเวลางานแต่ใช้laptop/software ของบริษัท) ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตรเป็นของผู้ว่าจ้างโดยเด็ดขาด ไม่เคยเห็นสัญญาจ้างที่หลุดเรื่องนี้ง่ายๆสำหรับบริษัทมาตรฐานครับ
ระวังนะครับ copy ไปให้เจ้าใหม่ เกิดมีปัญหาในอนาคตเช่นเป็นคู่แข่งกัน มีการฟ้องร้องแล้วตรวจเจอ คุณโดนหนักที่สุด คดีอาญาฯเลยล่ะคดี trade secret บทลงโทษหนักกว่าเรื่องละเมิดลิขสิทธิ์นะครับ
ในความเป็นจริงถ้าคุณเคยเขียนแล้ว เขียน framework ขึ้นมาใหม่จากตัวเปล่าๆ มันไม่ได้ยากหรอก แค่อย่า copy code เก่าโดยตรง(ถ้ามีแอบเก็บไว้) เขียนใหม่หมดจากในความทรงจำยังไงก็ไม่ได้เหมือนตัวดั้งเดิมเป๊ะๆหรอก เมืองไทยยังไม่เคร่งขนาดUSA ที่แม้แต่ algorithm ก็ห้ามเหมือนเพราะมีจดสิทธิบัตรแยกได้ (แต่ถ้าalgorithm นั้นเป็นรูปแบบเฉพาะ เป็นความลับของบริษัทแรก ก็ถือเป็นtrade secret ได้โดยไม่ต้องจดสิทธิบัตรนะครับ)
ยังไม่นับที่หลายคนพูด คุณทำเสร็จไวเพราะcopy code เดิม เขาก็อาจจะไม่จ้างคุณต่อเหมือนกัน ลักไก่ทั้งคู่ก็อาจโดนเอง
ระวังนะครับ copy ไปให้เจ้าใหม่ เกิดมีปัญหาในอนาคตเช่นเป็นคู่แข่งกัน มีการฟ้องร้องแล้วตรวจเจอ คุณโดนหนักที่สุด คดีอาญาฯเลยล่ะคดี trade secret บทลงโทษหนักกว่าเรื่องละเมิดลิขสิทธิ์นะครับ
ในความเป็นจริงถ้าคุณเคยเขียนแล้ว เขียน framework ขึ้นมาใหม่จากตัวเปล่าๆ มันไม่ได้ยากหรอก แค่อย่า copy code เก่าโดยตรง(ถ้ามีแอบเก็บไว้) เขียนใหม่หมดจากในความทรงจำยังไงก็ไม่ได้เหมือนตัวดั้งเดิมเป๊ะๆหรอก เมืองไทยยังไม่เคร่งขนาดUSA ที่แม้แต่ algorithm ก็ห้ามเหมือนเพราะมีจดสิทธิบัตรแยกได้ (แต่ถ้าalgorithm นั้นเป็นรูปแบบเฉพาะ เป็นความลับของบริษัทแรก ก็ถือเป็นtrade secret ได้โดยไม่ต้องจดสิทธิบัตรนะครับ)
ยังไม่นับที่หลายคนพูด คุณทำเสร็จไวเพราะcopy code เดิม เขาก็อาจจะไม่จ้างคุณต่อเหมือนกัน ลักไก่ทั้งคู่ก็อาจโดนเอง
แสดงความคิดเห็น
ทำงานอยู่บริษัท A ใช้เวลาเขียนโปรแกรมหนึ่งเกือบสามปี //ต่อมาบริษัท B รับเข้าทำงาน บอกว่าจะเอาโปรแกรมนี้
ต่อมา มาทำงานบริษัท B บริษัท B บอกว่าจะให้สร้างแบบโปรแกรมนี้
พูดง่ายๆคือ ก็อปให้เลยแค่สิบห้านาทีก็เสร็จ เราควรจะทำยังไงดี
ก็อปให้หรือเริ่มเขียนใหม่หมด แต่มันโคตรจะไม่แฟร์กับบริษัทเก่า
และไม่แฟร์กับเรา เกิดก็อปให้เสร็จไล่เราออกเลย ซวยอีก
ตามหลักการ มาตรฐานสากลนี่ต้องทำยังไง กับเหตุการณ์แบบนี้
บริษัทเก่าหมดเงินหลายล้านกว่าโปรเจ็คจะเสร็จ
บริษัทใหม่จ่ายเงินเเดือนเดือนแรก ได้ซอร์สโค้ดโปรเจ็คไปเลย มันง่ายดีแท้
ขออนุญาติแท็กทรัพยากรบุคคล กับการบริหารจัดการ
เพราะคิดว่าทั้งสองแท็กน่าจะรู้คำตอบหรือวิธีจัดการปัญหาแบบนี้