https://etipitaka.com/read/thai/19/214/
ทัฏฐัพพสูตร
[๘๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน?
คือ
สัทธินทรีย์, วิริยินทรีย์, สตินทรีย์, สมาธินทรีย์, ปัญญินทรีย์
[๘๕๓]
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็จะพึงเห็นสัทธินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ใน โสตาปัตติยังคะ ๔ พึงเห็นสัทธินทรีย์ในธรรมนี้.
[๘๕๔] ก็จะพึงเห็นวิริยินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในสัมมัปปธาน ๔ พึงเห็น วิริยินทรีย์ในธรรมนี้.
[๘๕๕] ก็จะพึงเห็นสตินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในสติปัฏฐาน ๔ พึงเห็น สตินทรีย์ในธรรมนี้.
[๘๕๖] ก็จะพึงเห็นสมาธินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในฌาน ๔ พึงเห็น สมาธินทรีย์ในธรรมนี้.<---อันนี้แปลคลาดเคลื่อน..ต้อง "
ในฌานทั้ง ๔ "..
[๘๕๗] ก็จะพึงเห็นปัญญินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในอริยสัจ ๔ พึงเห็น ปัญญินทรีย์ในธรรมนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้แล. จบ สูตรที่ ๘
สรุป
1. ในพระสูตรอื่นๆ หลายพระสูตร พระศาสดากล่าวว่า...ความต่างของอริยบุคคลที่เป็นสัทธานุสารีธรรมนุสารี
โสดาบัน, สกิทาคามี, อนาคามี...และ..พระอรหันต์ ก็เป็นเพราะว่าความต่างกันของอินทรีย์๕..นี้ของแต่บะบุคคล
2. โสดาบัน....เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิพอประมาณ - ปัญญาพอประมาณ
สกิทาคามี..เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิพอประมาณ - ปัญญาพอประมาณ
อนาคามี.....เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิบริบูรณ์ - ปัญญาพอประมาณ
อรหันต์.......เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิบริบูรณ์ - ปัญญาบริบูรณ์
4. จะเห็นว่า..คุณสมบัติของพระโสดาบัน...คือ " โสตาปัตติยังคะ ๔ "..นั้น
อยู่ในอริทรีย๕..ในข้อแรกคือ " สัทธินทรีย์ "
ก็เมื่อสัทธาในพระธรรมก็จะสัทธาในผู้ที่บัญญัติพระธรรมนั้น..นั่นคือพระพุทธเจ้า
ก็เมื่อสัทธาในพระธรรมก็จะสัทธาในผู้ที่ประพฤติตามพระธรรมนั้น..นั่นคือพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
ก็เมื่อสัทธาในพระธรรมก็ผู้นั้นก็จะเริ่มประพฤติตามพระธรรมนั้น..ขั้นแรกก็คือ " การทำศีลให้บริบูรณ์ "
มาถึงตรงนี้ ... ก็ครบองค์แห่ง...โสตาปัตติยังค๔ ..แล้ว
บุคคลนั้นพยากรณ์ท่านเอง.. ได้เลยว่า .. " เราคือพระโสดาบัน..แล้ว "...ตามเกณฑ์ของพระศาสดาในศาสนานี้
(ใครไปเอาเกณท์มั่วๆ ก็ถือว่าเป็นของภายนอก..เป็นของศาสนาอื่น..ของศาสดาอื่น... ไม่ใช่ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า..)
อันนี้ก็แล้วแต่... บางท่านเริ่มจาก พระพุทธ>พระธรรม>พระสงฆ์ หรือ พระสงฆ์>พระพุทธ>พระธรรม 9ล9
5. จะเห็นว่า... ในอินทรีย๕–พละ๔ โสดาบัน...ที่เป็นได้เพราะเริ่มจาก " สัทธา "...
สัตว์:..ผู้อริยสาวก-ผู้โสดาบัน..ตอนที่ 7 : สัทธินทรีย์-สัทธาพละ...เห็นได้ใน..โสตาปัตติยังคะ4
https://etipitaka.com/read/thai/19/214/
ทัฏฐัพพสูตร
[๘๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน?
คือ สัทธินทรีย์, วิริยินทรีย์, สตินทรีย์, สมาธินทรีย์, ปัญญินทรีย์
[๘๕๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็จะพึงเห็นสัทธินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ใน โสตาปัตติยังคะ ๔ พึงเห็นสัทธินทรีย์ในธรรมนี้.
[๘๕๔] ก็จะพึงเห็นวิริยินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในสัมมัปปธาน ๔ พึงเห็น วิริยินทรีย์ในธรรมนี้.
[๘๕๕] ก็จะพึงเห็นสตินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในสติปัฏฐาน ๔ พึงเห็น สตินทรีย์ในธรรมนี้.
[๘๕๖] ก็จะพึงเห็นสมาธินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในฌาน ๔พึงเห็น สมาธินทรีย์ในธรรมนี้.<---อันนี้แปลคลาดเคลื่อน..ต้อง " ในฌานทั้ง ๔ "..[๘๕๗] ก็จะพึงเห็นปัญญินทรีย์ ในธรรมไหนเล่า?
ในอริยสัจ ๔ พึงเห็น ปัญญินทรีย์ในธรรมนี้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้แล. จบ สูตรที่ ๘
สรุป
1. ในพระสูตรอื่นๆ หลายพระสูตร พระศาสดากล่าวว่า...ความต่างของอริยบุคคลที่เป็นสัทธานุสารีธรรมนุสารี
โสดาบัน, สกิทาคามี, อนาคามี...และ..พระอรหันต์ ก็เป็นเพราะว่าความต่างกันของอินทรีย์๕..นี้ของแต่บะบุคคล
2. โสดาบัน....เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิพอประมาณ - ปัญญาพอประมาณ
สกิทาคามี..เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิพอประมาณ - ปัญญาพอประมาณ
อนาคามี.....เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิบริบูรณ์ - ปัญญาพอประมาณ
อรหันต์.......เป็นผู้ ศีลบริบูรณ์ - สมาธิบริบูรณ์ - ปัญญาบริบูรณ์
4. จะเห็นว่า..คุณสมบัติของพระโสดาบัน...คือ " โสตาปัตติยังคะ ๔ "..นั้น
อยู่ในอริทรีย๕..ในข้อแรกคือ " สัทธินทรีย์ "
ก็เมื่อสัทธาในพระธรรมก็จะสัทธาในผู้ที่บัญญัติพระธรรมนั้น..นั่นคือพระพุทธเจ้า
ก็เมื่อสัทธาในพระธรรมก็จะสัทธาในผู้ที่ประพฤติตามพระธรรมนั้น..นั่นคือพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
ก็เมื่อสัทธาในพระธรรมก็ผู้นั้นก็จะเริ่มประพฤติตามพระธรรมนั้น..ขั้นแรกก็คือ " การทำศีลให้บริบูรณ์ "
มาถึงตรงนี้ ... ก็ครบองค์แห่ง...โสตาปัตติยังค๔ ..แล้ว
บุคคลนั้นพยากรณ์ท่านเอง.. ได้เลยว่า .. " เราคือพระโสดาบัน..แล้ว "...ตามเกณฑ์ของพระศาสดาในศาสนานี้
(ใครไปเอาเกณท์มั่วๆ ก็ถือว่าเป็นของภายนอก..เป็นของศาสนาอื่น..ของศาสดาอื่น... ไม่ใช่ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า..)
อันนี้ก็แล้วแต่... บางท่านเริ่มจาก พระพุทธ>พระธรรม>พระสงฆ์ หรือ พระสงฆ์>พระพุทธ>พระธรรม 9ล9
5. จะเห็นว่า... ในอินทรีย๕–พละ๔ โสดาบัน...ที่เป็นได้เพราะเริ่มจาก " สัทธา "...