คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ข้อ1 ไม่มีสิทธิ์ ผิดกฎหมาย
ข้อ2 เช็คเด้งมันผิดกฎหมายอยู่แล้วครับ เป็นความผิดอาญาด้วยครับ แจ้งความได้ ไม่ต้องฟ้องเอง เพราะไม่ใช่คดีแพ่ง
ปล. หาข้อมูลเพิ่มเติมมา กฎหมายเช็คเด้งมีความเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
ข้อ2 เช็คเด้งมันผิดกฎหมายอยู่แล้วครับ เป็นความผิดอาญาด้วยครับ แจ้งความได้ ไม่ต้องฟ้องเอง เพราะไม่ใช่คดีแพ่ง
ปล. หาข้อมูลเพิ่มเติมมา กฎหมายเช็คเด้งมีความเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
ครม. ยกเลิกกฎหมาย “เช็คเด้ง” มีผลหลังประกาศในราชกิจจาฯ 120 วัน ปรับโทษใหม่เป็น ตั้งใจฉ้อโกงรับโทษอาญา ไม่เจตนาใช้ฟ้องทางแพ่ง
.
ที่ประชุม ครม. (21 มิ.ย. 65) เห็นชอบยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้เช็คในการทำธุรกรรม และกำหนดให้การใช้เช็คที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือมีลักษณะหลอกลวงเป็นการกระทำความผิดทางอาญา
.
แต่เดิมกฎหมายกำหนดความผิด สำหรับการใช้เช็คที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในลักษณะที่เป็นการหลอกลวง มีโทษปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งไม่สอดคล้องกับมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่กำหนดหลักการให้พึงกำหนดโทษทางอาญาเฉพาะความผิดร้ายแรง และไม่สอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในข้อ 11 ที่กำหนดให้บุคคลจะถูกจำคุกเพียง เพราะเหตุว่าไม่สามารถปฏิบัติการชำระหนี้ตามสัญญาไม่ได้
.
โดยกฎหมายดังกล่าว จะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ทั้งนี้หากลูกหนี้สั่งจ่ายเช็คโดย “ไม่มีเจตนาทุจริต” แต่เช็คไม่สามารถขึ้นเงินได้ เช่น เงินในบัญชีของลูกหนี้ไม่เพียงพอ เป็นต้น เจ้าหนี้สามารถฟ้องผิดสัญญา “ทางแพ่ง” ได้เพื่อบังคับให้ลูกหนี้ใช้เงินตามเช็คนั้น
.
แต่กรณีลูกหนี้ “มีเจตนาทุจริต” เพื่อไม่ให้เจ้าหนี้ได้รับเงิน อาจเข้าข่ายเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายอื่นได้ เช่น ความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
.
ที่ประชุม ครม. (21 มิ.ย. 65) เห็นชอบยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้เช็คในการทำธุรกรรม และกำหนดให้การใช้เช็คที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือมีลักษณะหลอกลวงเป็นการกระทำความผิดทางอาญา
.
แต่เดิมกฎหมายกำหนดความผิด สำหรับการใช้เช็คที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในลักษณะที่เป็นการหลอกลวง มีโทษปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งไม่สอดคล้องกับมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่กำหนดหลักการให้พึงกำหนดโทษทางอาญาเฉพาะความผิดร้ายแรง และไม่สอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในข้อ 11 ที่กำหนดให้บุคคลจะถูกจำคุกเพียง เพราะเหตุว่าไม่สามารถปฏิบัติการชำระหนี้ตามสัญญาไม่ได้
.
โดยกฎหมายดังกล่าว จะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ทั้งนี้หากลูกหนี้สั่งจ่ายเช็คโดย “ไม่มีเจตนาทุจริต” แต่เช็คไม่สามารถขึ้นเงินได้ เช่น เงินในบัญชีของลูกหนี้ไม่เพียงพอ เป็นต้น เจ้าหนี้สามารถฟ้องผิดสัญญา “ทางแพ่ง” ได้เพื่อบังคับให้ลูกหนี้ใช้เงินตามเช็คนั้น
.
แต่กรณีลูกหนี้ “มีเจตนาทุจริต” เพื่อไม่ให้เจ้าหนี้ได้รับเงิน อาจเข้าข่ายเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายอื่นได้ เช่น ความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
แสดงความคิดเห็น
จะปล่อยเช่าอาคารพาณิชย์ อยากถาม 2 เรื่องครับ
2. ถ้าเราให้ผู้เช่าตีเช็คสั่งจ่าย / แคชเชียร์เช็คล้วงหน้าสำหรับทั้งระยะเวลาสัญญา (สัญญา 36 เดือน ตีเช็ค 35-36 ใบ) ถ้าเช็คเด้ง เราสามารถฟ้องได้ไหมครับ หรือต้องรุบุในสัญญาว่าถ้าเช็คเด้ง สามารถฟ้องได้