"ง่วงก็นอน...หิวก็กิน".. เป็นปรัชญาเซน ที่อ่านเผินๆแล้วก็ดูกวนๆง่ายๆ ไม่เห็นจะลุ่มลึกอะไร..
แต่ในการเอามาปฏิบัติจริงนั้นยากนะ ด้วยเพราะภาระหน้าที่ต้องแบก..
(หลายคนแบกสิ่งที่ไม่ควรแบก)
ทำให้หลายคนเมื่อถึงเวลาง่วง ร่างกายก็ไม่ได้หลับ ต้องถ่างตาตื่นต่อไปจนเกิดภาวะเครียดในอารมณ์..
และทำให้หลายคนเมื่อร่างกายหิวมาก..ก็ยังไม่ได้กิน จนร่างกายเครียด บางคนถึงกับโมโหหิวก็มีมาก..
ดังนี้แล้ว
อย่าฝืนเมื่อไม่ไหว จงหยุดพักเมื่อยามเหนื่อยล้า จงหากินเมื่อหิว.. ..อย่าฝืน..!
แต่ทั้งการกินและการนอนก็เป็นศาสตร์นะ จะนอนอย่างไรให้หลับสนิท และจะกินอย่างไรให้มีสุขภาพดี อันนี้อาแปะจะอวด
เอ๊ย ไม่ใช่อวด... อาแปะจะเล่าประสบการณ์ตรงให้ฟัง..
ว่าด้วยการนอนที่ดี ....ต้องให้ท้องว่าง อย่าให้มีอาหารตกค้างนกระเพาะ แรกปฏิบัติใหม่ๆจะรู้สึกโหยหิว แต่เมื่อชินแล้วจะไม่รู้สึกหิวเลยเมื่อท้องว่างก่อนนอน การนอนหลับจะหลับสนิทดี ไม่ฝันร้าย ...หากเจริญเมตตาจิตก่อนนอนด้วยแล้วก็จะยิ่งหลับอย่างมีความสุข ตื่นขึ้นมาจะรู้สึกอิ่มใจเบิกบานใจมากๆ..
ว่าด้วยการกินที่ดี... ก็ต้องกินแต่อาหารธรรมชาติ ที่ผ่านกระบวนการอุตสาหกรรมน้อยๆ ยิ่งไม่ผ่านกระบวนการยิ่งดี ปรุงสดๆสุกๆทำให้ผ่านร้อนแล้วทาน จำพวกธัญพืชเช่นข้าวกล้อง พืชผักก็จำพวกผักริมรั้ว ผักไม่ใช้สารเคมี อย่างนี้คือการกินที่ดี และ
"พยายาม"กินอาหารเหล่านี้ให้เป็นประจำ ..
หลายคนไป
พยายามกินอาหารขยะเพราะหลงคิดว่าดี อย่านี้คือ"พยายามผิด" ทำให้สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง..
ดังนั้นเรื่องกินนี่ต้อง"พยายาม"นะ เพราะหลายคนชอบกินแบบง่ายๆ หลายคนมักง่าย เอาสะดวกเข้าไว้ หลายคนชอบ
"พยายามกินอาหารขยะ" แล้วมาอวดชวนให้ผู้อื่นกินด้วย
"พยายามกินเข้า ....สู้ๆ" ยิ่งอาหารขยะคาวๆทางอารมณ์คนพวกนี้ชอบนักแล..
พระท่านว่า เป็นพวกรู้น้อยพลอยรำคาญ คือเห็นคนกินผักริมรั้วดันไปว่าเค้ากินอาหารต่ำๆ...ไรงี้..
ดังนี้การ"พยายาม"กินอาหารสะอาด ผักปลอดสาร ผักริมรั้วนั้นเป็นการ"พยายาม"อย่างอุกฤติ เป็นความเพียรความพยายามฝ่ายดี..
ต่างจากความ"พยายามสู้ๆ"กินอาหารขยะ บูดๆคาวๆ และอารมณ์ขยะๆย่อมบั่นทอนสุขภาพกายและใจให้ตกต่ำลงไปเรื่อยๆ ..
เหตุที่อาแปะมั่นใจในผลของการปฏิบัติตามปรัชญาเซน"ง่วงก็นอน หิวก็กิน" เพราะ ปฏิบัติตามแล้ว สุขภาพอาแปะแข็งแรงมาก ไม่ต้องพึ่งยาหมอมาหลายสิบปีแล้ว.. กระทั่งวิกฤติโรคระบาดโควิด อาแปะก็ผ่านมาได้อย่างสบายๆ ไม่ต้องระวังตัวอะไร ..
เดือนที่แล้วลูกสาวติดโควิด มาเอาฟ้าทะลายโจรที่สวน ก็พูดคุยกันปกติ ไม่ต้องป้องกันอะไร..
นางถามว่า "พ่อไม่กลัวติดโควิดเหรอ.?"
อาแปะบอกว่า " don't worry" ..
"ง่วงก็นอน หิวก็กิน โควิดจะทำอะไรได้"
อาแปะจะสอนลูกสาวเสมอๆนะว่าให้ดูแลสุขภาพให้ดี อาหารขยะกินให้น้อยๆ ด้วยความที่นางเป็นคนเมืองเลี่ยงอาหารขยะยากหนะครับ มันล่อตาล่อใจไปหมด อาหารในเมืองมีแต่ของอร่อยปากทั้งนั้น ห้ามใจยากหนะครับ อาแปะก็เข้าใจ ก็ไม่ได้ไปบังคับอะไร ต่างคนต่างมีวิถีเป็นของตนเอง แม้จะเป็นลูกเราก็ไปบังคับเรื่องกินเรื่องนอนเค้าไม่ได้..
อาแปะก็สอนได้แต่เพียงว่า
"ภัยจากภายนอกพ่อช่วยปกป้องให้ลูกได้ แต่ภัยจากอาหารการกิน เมื่อเกิดแล้วพ่อเจ็บป่วยแทนลูกไม่ได้นะ ลูกต้องรับผลการกินของลูกเอง .." บลาๆๆ... ก็สอนไปตามประสาพ่อที่รักลูกทั่วไปหนะครับ.. แต่ถึงเวลาหากลูกเค้าเจ็บป่วยขึ้นมา เราซึ่งเป็นพ่อก็เป็นทุกข์อยู่ดีนั่นแล เพราะลูกก็คือ"บ่วง"ที่ร้อยรัดใจเราดุจเป็นตัวของเราเอง เมื่อเค้าเจ็บเราจึงเจ็บไปด้วย.... ..
อมิตพุทธ..
ສະບາຍດີຕອນເຊົ້າ
"ลูกใต้ใบ"ผักข้างถนนที่มีประโยชน์ต่อตับ..
โควิดที่ผ่านมา ทำให้อาแปะเห็นผลของการปฏิบัติ"ปรัชญาเซน" บทว่า "ง่วงก็นอน..หิวก็กิน"
แต่ในการเอามาปฏิบัติจริงนั้นยากนะ ด้วยเพราะภาระหน้าที่ต้องแบก..(หลายคนแบกสิ่งที่ไม่ควรแบก)
ทำให้หลายคนเมื่อถึงเวลาง่วง ร่างกายก็ไม่ได้หลับ ต้องถ่างตาตื่นต่อไปจนเกิดภาวะเครียดในอารมณ์..
และทำให้หลายคนเมื่อร่างกายหิวมาก..ก็ยังไม่ได้กิน จนร่างกายเครียด บางคนถึงกับโมโหหิวก็มีมาก..
ดังนี้แล้ว อย่าฝืนเมื่อไม่ไหว จงหยุดพักเมื่อยามเหนื่อยล้า จงหากินเมื่อหิว.. ..อย่าฝืน..!
แต่ทั้งการกินและการนอนก็เป็นศาสตร์นะ จะนอนอย่างไรให้หลับสนิท และจะกินอย่างไรให้มีสุขภาพดี อันนี้อาแปะจะอวด เอ๊ย ไม่ใช่อวด... อาแปะจะเล่าประสบการณ์ตรงให้ฟัง..
ว่าด้วยการนอนที่ดี ....ต้องให้ท้องว่าง อย่าให้มีอาหารตกค้างนกระเพาะ แรกปฏิบัติใหม่ๆจะรู้สึกโหยหิว แต่เมื่อชินแล้วจะไม่รู้สึกหิวเลยเมื่อท้องว่างก่อนนอน การนอนหลับจะหลับสนิทดี ไม่ฝันร้าย ...หากเจริญเมตตาจิตก่อนนอนด้วยแล้วก็จะยิ่งหลับอย่างมีความสุข ตื่นขึ้นมาจะรู้สึกอิ่มใจเบิกบานใจมากๆ..
ว่าด้วยการกินที่ดี... ก็ต้องกินแต่อาหารธรรมชาติ ที่ผ่านกระบวนการอุตสาหกรรมน้อยๆ ยิ่งไม่ผ่านกระบวนการยิ่งดี ปรุงสดๆสุกๆทำให้ผ่านร้อนแล้วทาน จำพวกธัญพืชเช่นข้าวกล้อง พืชผักก็จำพวกผักริมรั้ว ผักไม่ใช้สารเคมี อย่างนี้คือการกินที่ดี และ"พยายาม"กินอาหารเหล่านี้ให้เป็นประจำ ..
หลายคนไปพยายามกินอาหารขยะเพราะหลงคิดว่าดี อย่านี้คือ"พยายามผิด" ทำให้สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง..
ดังนั้นเรื่องกินนี่ต้อง"พยายาม"นะ เพราะหลายคนชอบกินแบบง่ายๆ หลายคนมักง่าย เอาสะดวกเข้าไว้ หลายคนชอบ "พยายามกินอาหารขยะ" แล้วมาอวดชวนให้ผู้อื่นกินด้วย "พยายามกินเข้า ....สู้ๆ" ยิ่งอาหารขยะคาวๆทางอารมณ์คนพวกนี้ชอบนักแล..
พระท่านว่า เป็นพวกรู้น้อยพลอยรำคาญ คือเห็นคนกินผักริมรั้วดันไปว่าเค้ากินอาหารต่ำๆ...ไรงี้..
ดังนี้การ"พยายาม"กินอาหารสะอาด ผักปลอดสาร ผักริมรั้วนั้นเป็นการ"พยายาม"อย่างอุกฤติ เป็นความเพียรความพยายามฝ่ายดี..
ต่างจากความ"พยายามสู้ๆ"กินอาหารขยะ บูดๆคาวๆ และอารมณ์ขยะๆย่อมบั่นทอนสุขภาพกายและใจให้ตกต่ำลงไปเรื่อยๆ ..
เหตุที่อาแปะมั่นใจในผลของการปฏิบัติตามปรัชญาเซน"ง่วงก็นอน หิวก็กิน" เพราะ ปฏิบัติตามแล้ว สุขภาพอาแปะแข็งแรงมาก ไม่ต้องพึ่งยาหมอมาหลายสิบปีแล้ว.. กระทั่งวิกฤติโรคระบาดโควิด อาแปะก็ผ่านมาได้อย่างสบายๆ ไม่ต้องระวังตัวอะไร ..
เดือนที่แล้วลูกสาวติดโควิด มาเอาฟ้าทะลายโจรที่สวน ก็พูดคุยกันปกติ ไม่ต้องป้องกันอะไร..
นางถามว่า "พ่อไม่กลัวติดโควิดเหรอ.?"
อาแปะบอกว่า " don't worry" ..
"ง่วงก็นอน หิวก็กิน โควิดจะทำอะไรได้"
อาแปะจะสอนลูกสาวเสมอๆนะว่าให้ดูแลสุขภาพให้ดี อาหารขยะกินให้น้อยๆ ด้วยความที่นางเป็นคนเมืองเลี่ยงอาหารขยะยากหนะครับ มันล่อตาล่อใจไปหมด อาหารในเมืองมีแต่ของอร่อยปากทั้งนั้น ห้ามใจยากหนะครับ อาแปะก็เข้าใจ ก็ไม่ได้ไปบังคับอะไร ต่างคนต่างมีวิถีเป็นของตนเอง แม้จะเป็นลูกเราก็ไปบังคับเรื่องกินเรื่องนอนเค้าไม่ได้..
อาแปะก็สอนได้แต่เพียงว่า "ภัยจากภายนอกพ่อช่วยปกป้องให้ลูกได้ แต่ภัยจากอาหารการกิน เมื่อเกิดแล้วพ่อเจ็บป่วยแทนลูกไม่ได้นะ ลูกต้องรับผลการกินของลูกเอง .." บลาๆๆ... ก็สอนไปตามประสาพ่อที่รักลูกทั่วไปหนะครับ.. แต่ถึงเวลาหากลูกเค้าเจ็บป่วยขึ้นมา เราซึ่งเป็นพ่อก็เป็นทุกข์อยู่ดีนั่นแล เพราะลูกก็คือ"บ่วง"ที่ร้อยรัดใจเราดุจเป็นตัวของเราเอง เมื่อเค้าเจ็บเราจึงเจ็บไปด้วย.... ..
อมิตพุทธ..
ສະບາຍດີຕອນເຊົ້າ
"ลูกใต้ใบ"ผักข้างถนนที่มีประโยชน์ต่อตับ..