อินทรีย์ 5 มีชื่อเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน (เสนอเพื่อให้ผู้เริ่มศึกษาทำความเข้าใจ)
1. อินทรีย์ 5 ที่หมายถึ่งเกียวของกับ อายตนะ หรือ สฬายตนะ จากส่วนนี้.
-------------------------------
๒. อุณณาภพราหมณสูตร
ว่าด้วยอุณณาภพราหมณ์
[๕๑๒] เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี
ครั้งนั้นแล พราหมณ์ชื่ออุณณาภะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
ได้สนทนาปราศรัยพอเป็นที่บันเทิงใจ พอเป็นที่ระลึกถึงกันแล้ว นั่ง ณ ที่สมควร
ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า
“ท่านพระโคดม อินทรีย์ ๕ ประการนี้ มีอารมณ์ต่างกัน มีโคจรต่างกัน
ไม่เสวยอารมณ์อันเป็นโคจรของกันและกัน
อินทรีย์ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. จักขุนทรีย์ ๒. โสตินทรีย์
๓. ฆานินทรีย์ ๔. ชิวหินทรีย์
๕. กายินทรีย์
---------------------------------
กับ
2.อินทรีย์ 5 ที่จะเจริญจาก พละ 5 (1.สัทธา 2.ความเพียร 3.สติ 4.สมาธิ 5.ปัญญา) จนตั้งมั่นสมบูรณ์ ได้แก่
1. สัทธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเลื่อมใสต่อสิ่งที่ควรเลื่อมใส
2. วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายาม
3. สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้
4. สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้มีสมาธิ
5. ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในปัญญาหรือการรู้แจ้ง
เสนอเพื่อทำความเข้าใจเรื่อง อินทรีย์ 5 ฃื่อเหมือนกัน แต่มีความหมายคนละอย่างกัน ผู้เริ่มศึกษาจะไม่สับสน.
อินทรีย์ 5 มีชื่อเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน (เสนอเพื่อให้ผู้เริ่มศึกษาทำความเข้าใจ)
1. อินทรีย์ 5 ที่หมายถึ่งเกียวของกับ อายตนะ หรือ สฬายตนะ จากส่วนนี้.
-------------------------------
๒. อุณณาภพราหมณสูตร
ว่าด้วยอุณณาภพราหมณ์
[๕๑๒] เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี
ครั้งนั้นแล พราหมณ์ชื่ออุณณาภะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
ได้สนทนาปราศรัยพอเป็นที่บันเทิงใจ พอเป็นที่ระลึกถึงกันแล้ว นั่ง ณ ที่สมควร
ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า
“ท่านพระโคดม อินทรีย์ ๕ ประการนี้ มีอารมณ์ต่างกัน มีโคจรต่างกัน
ไม่เสวยอารมณ์อันเป็นโคจรของกันและกัน
อินทรีย์ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. จักขุนทรีย์ ๒. โสตินทรีย์
๓. ฆานินทรีย์ ๔. ชิวหินทรีย์
๕. กายินทรีย์
---------------------------------
กับ
2.อินทรีย์ 5 ที่จะเจริญจาก พละ 5 (1.สัทธา 2.ความเพียร 3.สติ 4.สมาธิ 5.ปัญญา) จนตั้งมั่นสมบูรณ์ ได้แก่
1. สัทธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเลื่อมใสต่อสิ่งที่ควรเลื่อมใส
2. วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายาม
3. สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้
4. สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้มีสมาธิ
5. ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในปัญญาหรือการรู้แจ้ง
เสนอเพื่อทำความเข้าใจเรื่อง อินทรีย์ 5 ฃื่อเหมือนกัน แต่มีความหมายคนละอย่างกัน ผู้เริ่มศึกษาจะไม่สับสน.