ต่อจาก
Part 1 นะครับ
ซึ่งเราได้ลงลึกจนถึง Subfamily
Papilioninae หรือผีเสื้อหางติ่งที่มันหางติ่งจริงๆ
มีความเป็นราชินี แล้ว ภาษาอังกฤษเรียกมันว่าอะไร ?
Swallowtail ครับ แปลตรงตัวก็คือ หางนกนางแอ่น
กลับมาต่อกัน
ยังคงอยู่กับ Subgenus
Papilio ครับ
ซึ่งในตอน 1 ผมได้ลง 6 สปีชีส์ที่คล้ายกันจัดๆไปครบเรียบร้อย อยากให้เกาะกลุ่มกัน
ใช้ครบ 10,000 อักษร พอดีเป๊ะกับสูงสุดที่อนุญาตซะด้วย 555
มาตอน 2 ก็จะเป็นสปีชีส์ที่ต่างกันค่อนข้างชัดนะครับ
Papilio saharae
ผีเสื้อหางติ่งซาฮาร่า
อยู่ในแอฟริกาเหนือและอาระเบีย เป็นผีเสื้อทะเลทราย
Papilio joanae
ผีเสื้อหางติ่งโอซาร์ก
พบได้ที่ ที่ราบสูงโอซาร์ก (Ozark plateau) USA เท่านั้น
3/3-1/3-2/7 SUBGENUS PRINCEPS
แปลตามรากศัพท์โดยตรง คือ ชนชั้นสูง
ซึ่งก็เหมาะสม เพราะเป็น
Papilio ที่มีปีกค่อนข้างใหญ่
และแทบทั้งหมดอยู่ที่ แอฟริกา
Papilio antimachus
ผีเสื้อหางติ่งยักษ์แอฟริกัน
Antimachus แปลในเชิงวรรณกรรมก็จะได้ประมาณว่า ต่อกรกับสงคราม
ไม่เจอที่มาของชื่ออย่างแน่ชัด แต่นี่คือผีเสื้อที่ใหญ่ที่สุดในแอฟริกาด้วยความยาวปีก 18-23 ซม. และ มีพิษร้ายแรงมาก
Papilio zalmoxis
ผีเสื้อหางติ่งยักษ์สีฟ้า
มาจาก Zalmoxis ตัวละครในนิยายกรีก
ด้วยความยาวปีก 12-16 ซม. มันคือผีเสื้อที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของแอฟริกา
Papilio nireus
ผีเสื้อหางติ่งแถบฟ้าแอฟริกัน
Papilio chrapkowskii
ผีเสื้อหางติ่งแถบเขียวของชราปคอวสกิ (มันเป็นสีฟ้าที่แซมเขียวหน่อยๆ เค้าเลยตั้งเขียวไป)
Papilio hornimani
ผีเสื้อหางติ่งแถบเขียวของฮอร์นีมาน
Papilio cynorta
ผีเสื้อหางติ่งแถบขาวธรรมดา
Papilio dardanus
Flying handkerchief (ผ้าเช็ดหน้าบิน)
Dardanus เป็นลูกชายของเทพซุส
Papilio constantinus
ผีเสื้อหางติ่งคอนสแตนติน
Papilio phorcas
ผีเสื้อหางติ่งสีเขียวแอปเปิล
Papilio rex
ผีเสื้อหางติ่งราชา
Rex แปลว่า ราชา
Papilio demodocus
ผีเสื้อหางติ่งซีตรัส
อยู่แถบซับซาฮาร่า ของแอฟริกา รวมไปถึงมาดากัสการ์
Papilio demoleus
ผีเสื้อหางติ่งมะนาว
ชื่อคล้าย
P. demodocus อาหารก็คล้าย แต่อยู่โซนเอเชียและออสเตรเลียแทน
Papilio nobilis
ผีเสื้อหางติ่งชนชั้นสูง (Noble)
Papilio hesperus
ผีเสื้อหางติ่งดำและเหลือง
Hesperos เป็นคำในเชิงวรรณกรรม มีความหมายถึงดาวศุกร์ในตอนเย็น
Papilio menestheus
ผีเสื้อหางติ่งจักรพรรดิตะวันตก
Menestheus เป็นกษัตริย์แห่งเอเธนส์ในช่วงสงครามโทรจัน
Papilio manlius
พบได้ที่เกาะมอรีเชียสของแอฟริกาเท่านั้น
Papilio demolion
ผีเสื้อหางติ่งแถบลาย
พบได้ที่ บรูไน สิงคโปร์ ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม
ในพื้นที่ป่าโกงกางและแนวชายฝั่งน้ำกร่อย
และยังพบได้ตามที่ดินรกร้าง จึงได้ชื่อ
Demolion ซึ่งเป็นคำมาจากรากของคำว่า ทำลาย นั่นเอง
Papilio liomedon
ผีเสื้อหางติ่งแถบลายมาลาบาร์
ก่อนหน้าเคยถูกจัดว่าเป็น
P. demolion แต่แค่เป็นเวอร์ชั่นสีซีดจากการขาดแคลนสารอาหาร อะไรทำนองนั้น
แต่ด้วยรายละเอียดลวดลายที่ต่างกันหลายจุดเกินไป รวมถึงบริเวณที่พบ ที่เป็น อินเดียตอนใต้
ปัจจุบันมันเป็นอีกสปีชีส์นึงแทน แถมตั้งชื่อแบบแค่เอาคำเก่ามาเล่นอักษร สลับจาก DML เป็น LMD
เอาฮาหรือจริงก็ไม่แน่ใจ แต่ผมหาที่มา
Liomedon ไม่เจอเลยครับ
Papilio anactus
Dingy swallowtail
พบได้ที่ออสเตรเลียเท่านั้น
Papilio aegeus
ผีเสื้อหางติ่งกล้วยไม้
Papilio polytes
มอร์มอนธรรมดา
พบได้ทั่วไปในเอเชีย
Papilio castor
ราเวนธรรมดา
พบได้ที่ กัมพูชา และ เอเชียใต้
Papilio mahadeva
ราเวนสยาม
พบได้ที่ ไทย และ เมียนมาร์
Papilio dravidarum
ราเวนมาลาบาร์
พบได้ที่แนวภูเขาทางตะวันตกของอินเดีย
Papilio jordani
ผีเสื้อหางติ่งของจอร์แดน
พบได้ที่ ทางตอนเหนือของเกาะสุลาเวสี เท่านั้น
Papilio helenus
เฮเลนแดง
พบได้ที่ อินเดียใต้ และบางส่วนของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Papilio nephelus
เฮเลนเหลือง
พบได้ตั้งแต่ เนปาล สิกขิม อัสสัม ไปจนถึง จีนตอนใต้ ไทย และ อินโดนีเซีย
Nephelus แปลว่า เมฆครึ้ม
Papilio memnon
Great mormon
พบได้ที่ เอเชียใต้
Papilio acheron
พบได้ที่มาเลเซียตะวันออกเท่านั้น
Papilio deiphobus
พบได้ที่อินโดนีเซีย ตั้งแต่ หมู่เกาะมาลูกู ไปจนถึง สุลาเวสี
Papilio lowi
มอร์มอนเหลืองใหญ่
พบได้แค่ที่ หมู่เกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย และ หมู่เกาะปาลาวันของฟิลิปปินส์ เท่านั้น
Papilio rumanzovia
มอร์มอนแดง
ผีเสื้อเฉพาะของฟิลิปปินส์ ที่ไม่นานมานี้มีรายงานพบที่ตอนใต้ของไต้หวันด้วย
Papilio protenor
สแปงเกิล
Papilio macilentus
สแปงเกิลหางยาว
พบที่ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น
Papilio thaiwanus
ผีเสื้อหางติ่งฟอร์โมซาน
พบได้ที่ ไต้หวันเท่านั้น
Papilio bootes
ผีเสื้อหางติ่งอกแดง
พบที่ อินเดีย
Papilio maraho
พบที่ไต้หวันเท่านั้น
3/3-1/3-3/7 SUBGENUS CHILASA
จบไปแล้วกับมหากาพย์
Princeps ใหญ่กว่า Subgenus
Papilio ซะคนละเรื่องเลยทีเดียว
มาต่อที่
Chilasa หรือ
Papilio ที่เลียนแบบเป็นผีเสื้อชนิดอื่นที่มีพิษและไม่อร่อย เพื่อให้ไม่โดนกิน
ซึ่งเราจะเรียก
Chilasa ว่า ไมม์ (Mime, ละครล้อเลียน) นะครับ ตามชื่ออังกฤษไปเลย
Papilio agestor
ไมม์สีน้ำตาลอ่อน (Tawny mime)
พบที่ความสูง 1,200-2,600 เมตร แถบหิมาลายัน
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ
Parantica sita ผีเสื้อเสือต้นเกาลัด
Papilio epycides
ไมม์เล็ก (Lesser mime)
พบที่อินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บางส่วน
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ
Parantica aglea ผีเสื้อแก้ว
Papilio slateri
ไมม์แถบน้ำเงิน
เลียนแบบผีเสื้อในกลุ่มผีเสื้ออีกา
Euploea sp.
สุดยอดแห่งนักปลอมแปลง !
Papilio clytia
พบใน เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เป็นผีเสื้อที่มี 2 เวอร์ชั่น ไม่ว่าจะตัวผู้หรือเมีย ก็เป็นเวอร์ชั่นไหนก็ได้
จากการหาข้อมูลของผม คาดว่า อุณหภูมิเป็นตัวกำหนด
และ 2 เวอร์ชั่นนั้น คือ
1. เวอร์ชั่น
Clytia
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ
Euploea core ผีเสื้ออีกาธรรมดา
2. เวอร์ชั่น
Dissimilis
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ
Tirumala limniace ผีเสื้อเสือฟ้า
Papilio paradoxa
ไมม์น้ำเงินใหญ่
พบในอินเดียทางตอนเหนือ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ
Euploea mulciber ผีเสื้ออีกาน้ำเงินลาย
Papilio laglaizei
พบที่นิวกินี
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ
Alcides agathyrsus
หมายเหตุ ขออภัยนะครับที่บางรูปไม่ค่อยชัด บางสปีชีส์ มันเฉพาะมากๆ หาดีสุดได้เท่านั้นจริงๆ
รอ Part 3 นะครับ
มารู้จัก วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง ศูนย์รวมผีเสื้อสวยระดับเทพ ที่ลินเนียสยกย่องถึงขั้นตั้งวงศ์ให้เฉพาะ และวงศ์ชื่อ "ผีเสื้อ" 2
ซึ่งเราได้ลงลึกจนถึง Subfamily Papilioninae หรือผีเสื้อหางติ่งที่มันหางติ่งจริงๆ
มีความเป็นราชินี แล้ว ภาษาอังกฤษเรียกมันว่าอะไร ?
Swallowtail ครับ แปลตรงตัวก็คือ หางนกนางแอ่น
กลับมาต่อกัน
ยังคงอยู่กับ Subgenus Papilio ครับ
ซึ่งในตอน 1 ผมได้ลง 6 สปีชีส์ที่คล้ายกันจัดๆไปครบเรียบร้อย อยากให้เกาะกลุ่มกัน
ใช้ครบ 10,000 อักษร พอดีเป๊ะกับสูงสุดที่อนุญาตซะด้วย 555
มาตอน 2 ก็จะเป็นสปีชีส์ที่ต่างกันค่อนข้างชัดนะครับ
Papilio saharae
ผีเสื้อหางติ่งซาฮาร่า
อยู่ในแอฟริกาเหนือและอาระเบีย เป็นผีเสื้อทะเลทราย
Papilio joanae
ผีเสื้อหางติ่งโอซาร์ก
พบได้ที่ ที่ราบสูงโอซาร์ก (Ozark plateau) USA เท่านั้น
3/3-1/3-2/7 SUBGENUS PRINCEPS
แปลตามรากศัพท์โดยตรง คือ ชนชั้นสูง
ซึ่งก็เหมาะสม เพราะเป็น Papilio ที่มีปีกค่อนข้างใหญ่
และแทบทั้งหมดอยู่ที่ แอฟริกา
Papilio antimachus
ผีเสื้อหางติ่งยักษ์แอฟริกัน
Antimachus แปลในเชิงวรรณกรรมก็จะได้ประมาณว่า ต่อกรกับสงคราม
ไม่เจอที่มาของชื่ออย่างแน่ชัด แต่นี่คือผีเสื้อที่ใหญ่ที่สุดในแอฟริกาด้วยความยาวปีก 18-23 ซม. และ มีพิษร้ายแรงมาก
Papilio zalmoxis
ผีเสื้อหางติ่งยักษ์สีฟ้า
มาจาก Zalmoxis ตัวละครในนิยายกรีก
ด้วยความยาวปีก 12-16 ซม. มันคือผีเสื้อที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของแอฟริกา
Papilio nireus
ผีเสื้อหางติ่งแถบฟ้าแอฟริกัน
Papilio chrapkowskii
ผีเสื้อหางติ่งแถบเขียวของชราปคอวสกิ (มันเป็นสีฟ้าที่แซมเขียวหน่อยๆ เค้าเลยตั้งเขียวไป)
Papilio hornimani
ผีเสื้อหางติ่งแถบเขียวของฮอร์นีมาน
Papilio cynorta
ผีเสื้อหางติ่งแถบขาวธรรมดา
Papilio dardanus
Flying handkerchief (ผ้าเช็ดหน้าบิน)
Dardanus เป็นลูกชายของเทพซุส
Papilio constantinus
ผีเสื้อหางติ่งคอนสแตนติน
Papilio phorcas
ผีเสื้อหางติ่งสีเขียวแอปเปิล
Papilio rex
ผีเสื้อหางติ่งราชา
Rex แปลว่า ราชา
Papilio demodocus
ผีเสื้อหางติ่งซีตรัส
อยู่แถบซับซาฮาร่า ของแอฟริกา รวมไปถึงมาดากัสการ์
Papilio demoleus
ผีเสื้อหางติ่งมะนาว
ชื่อคล้าย P. demodocus อาหารก็คล้าย แต่อยู่โซนเอเชียและออสเตรเลียแทน
Papilio nobilis
ผีเสื้อหางติ่งชนชั้นสูง (Noble)
Papilio hesperus
ผีเสื้อหางติ่งดำและเหลือง
Hesperos เป็นคำในเชิงวรรณกรรม มีความหมายถึงดาวศุกร์ในตอนเย็น
Papilio menestheus
ผีเสื้อหางติ่งจักรพรรดิตะวันตก
Menestheus เป็นกษัตริย์แห่งเอเธนส์ในช่วงสงครามโทรจัน
Papilio manlius
พบได้ที่เกาะมอรีเชียสของแอฟริกาเท่านั้น
Papilio demolion
ผีเสื้อหางติ่งแถบลาย
พบได้ที่ บรูไน สิงคโปร์ ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม
ในพื้นที่ป่าโกงกางและแนวชายฝั่งน้ำกร่อย
และยังพบได้ตามที่ดินรกร้าง จึงได้ชื่อ Demolion ซึ่งเป็นคำมาจากรากของคำว่า ทำลาย นั่นเอง
Papilio liomedon
ผีเสื้อหางติ่งแถบลายมาลาบาร์
ก่อนหน้าเคยถูกจัดว่าเป็น P. demolion แต่แค่เป็นเวอร์ชั่นสีซีดจากการขาดแคลนสารอาหาร อะไรทำนองนั้น
แต่ด้วยรายละเอียดลวดลายที่ต่างกันหลายจุดเกินไป รวมถึงบริเวณที่พบ ที่เป็น อินเดียตอนใต้
ปัจจุบันมันเป็นอีกสปีชีส์นึงแทน แถมตั้งชื่อแบบแค่เอาคำเก่ามาเล่นอักษร สลับจาก DML เป็น LMD
เอาฮาหรือจริงก็ไม่แน่ใจ แต่ผมหาที่มา Liomedon ไม่เจอเลยครับ
Papilio anactus
Dingy swallowtail
พบได้ที่ออสเตรเลียเท่านั้น
Papilio aegeus
ผีเสื้อหางติ่งกล้วยไม้
Papilio polytes
มอร์มอนธรรมดา
พบได้ทั่วไปในเอเชีย
Papilio castor
ราเวนธรรมดา
พบได้ที่ กัมพูชา และ เอเชียใต้
Papilio mahadeva
ราเวนสยาม
พบได้ที่ ไทย และ เมียนมาร์
Papilio dravidarum
ราเวนมาลาบาร์
พบได้ที่แนวภูเขาทางตะวันตกของอินเดีย
Papilio jordani
ผีเสื้อหางติ่งของจอร์แดน
พบได้ที่ ทางตอนเหนือของเกาะสุลาเวสี เท่านั้น
Papilio helenus
เฮเลนแดง
พบได้ที่ อินเดียใต้ และบางส่วนของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Papilio nephelus
เฮเลนเหลือง
พบได้ตั้งแต่ เนปาล สิกขิม อัสสัม ไปจนถึง จีนตอนใต้ ไทย และ อินโดนีเซีย
Nephelus แปลว่า เมฆครึ้ม
Papilio memnon
Great mormon
พบได้ที่ เอเชียใต้
Papilio acheron
พบได้ที่มาเลเซียตะวันออกเท่านั้น
Papilio deiphobus
พบได้ที่อินโดนีเซีย ตั้งแต่ หมู่เกาะมาลูกู ไปจนถึง สุลาเวสี
Papilio lowi
มอร์มอนเหลืองใหญ่
พบได้แค่ที่ หมู่เกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย และ หมู่เกาะปาลาวันของฟิลิปปินส์ เท่านั้น
Papilio rumanzovia
มอร์มอนแดง
ผีเสื้อเฉพาะของฟิลิปปินส์ ที่ไม่นานมานี้มีรายงานพบที่ตอนใต้ของไต้หวันด้วย
Papilio protenor
สแปงเกิล
Papilio macilentus
สแปงเกิลหางยาว
พบที่ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น
Papilio thaiwanus
ผีเสื้อหางติ่งฟอร์โมซาน
พบได้ที่ ไต้หวันเท่านั้น
Papilio bootes
ผีเสื้อหางติ่งอกแดง
พบที่ อินเดีย
Papilio maraho
พบที่ไต้หวันเท่านั้น
3/3-1/3-3/7 SUBGENUS CHILASA
จบไปแล้วกับมหากาพย์ Princeps ใหญ่กว่า Subgenus Papilio ซะคนละเรื่องเลยทีเดียว
มาต่อที่ Chilasa หรือ Papilio ที่เลียนแบบเป็นผีเสื้อชนิดอื่นที่มีพิษและไม่อร่อย เพื่อให้ไม่โดนกิน
ซึ่งเราจะเรียก Chilasa ว่า ไมม์ (Mime, ละครล้อเลียน) นะครับ ตามชื่ออังกฤษไปเลย
Papilio agestor
ไมม์สีน้ำตาลอ่อน (Tawny mime)
พบที่ความสูง 1,200-2,600 เมตร แถบหิมาลายัน
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ Parantica sita ผีเสื้อเสือต้นเกาลัด
Papilio epycides
ไมม์เล็ก (Lesser mime)
พบที่อินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บางส่วน
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ Parantica aglea ผีเสื้อแก้ว
Papilio slateri
ไมม์แถบน้ำเงิน
เลียนแบบผีเสื้อในกลุ่มผีเสื้ออีกา Euploea sp.
สุดยอดแห่งนักปลอมแปลง !
Papilio clytia
พบใน เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เป็นผีเสื้อที่มี 2 เวอร์ชั่น ไม่ว่าจะตัวผู้หรือเมีย ก็เป็นเวอร์ชั่นไหนก็ได้
จากการหาข้อมูลของผม คาดว่า อุณหภูมิเป็นตัวกำหนด
และ 2 เวอร์ชั่นนั้น คือ
1. เวอร์ชั่น Clytia
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ Euploea core ผีเสื้ออีกาธรรมดา
2. เวอร์ชั่น Dissimilis
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ Tirumala limniace ผีเสื้อเสือฟ้า
Papilio paradoxa
ไมม์น้ำเงินใหญ่
พบในอินเดียทางตอนเหนือ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ Euploea mulciber ผีเสื้ออีกาน้ำเงินลาย
Papilio laglaizei
พบที่นิวกินี
ผีเสื้อที่เลียนแบบ คือ Alcides agathyrsus
หมายเหตุ ขออภัยนะครับที่บางรูปไม่ค่อยชัด บางสปีชีส์ มันเฉพาะมากๆ หาดีสุดได้เท่านั้นจริงๆ
รอ Part 3 นะครับ