เมื่ออ่าน..พระสูตรนี้ " อานันทสูตร "... ท่านทั้งหลายไม่งงหรือ...
ถ้าตอบว่าอัตตา " มี " .........ก็จะไปเข้ากับ " สัสสตวาทะ "......มิจฉาทิฏฐิ
ถ้าตอบว่าอัตตา " ไม่มี "......ก็จะไปเข้ากับ " อุจเฉทวาทะ "...มิจฉาทิฏฐิ..อีก
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://etipitaka.com/read/thai/18/400/
...
ดูกรอานนท์ เราอันวัจฉโคตรปริพาชก ถามว่าอัตตาไม่มีหรือ
ถ้าจะพึงพยากรณ์ว่า อัตตาไม่มีไซร้ คำพยากรณ์นั้นก็จักไปร่วมกับลัทธิ ของพวกสมณพราหมณ์ผู้เป็นอุจเฉททิฐิ
ดูกรอานนท์ เราอันวัจฉโคตรปริพาชก ถามว่า อัตตามี อยู่หรือ
ถ้าจะพึงพยากรณ์ว่า อัตตามีอยู่ไซร้ คำพยากรณ์ของเรานั้น จักอนุโลมเพื่อความ บังเกิดขึ้นแห่งญาณว่า ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตาบ้างหรือหนอ ฯ
...
อย่างนี้... แล้วที่ถูกเป็นอย่างไร? ปัญหามันอยู่ที่ไหน?
ถ้าไปเปิดดิกแล้วแปล..ก็จะได้คำแปลออกมาดังนี้..
อตฺถิ --- มี, เป็น
สติ ---- มี, ความละลีกได้
ปัณหาเหล่านี้...มันอยูที่การแปล... โดยที่ไปแปลคำว่า..
อตฺถิ = สติ = " มี "... มันจึงเป็นปัญหา... ใครที่ไม่ไปดูบาลีจะแยกไม่ออก..
เมื่อแยกไม่ออก..ก็จะพลักหลงไปสู่อุจเฉทวาทะ.. ==>
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
คราวนี้.. มีนักแปลสงสัยคำว่า " สโต "... แปลว่า " มี "..ใช่ไหม?
เอาผมจะยกมาให้ดู
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
คราวนี้... ผมรู้ได้อย่างไรว่า
อตฺถ - อตฺถิ ...มันมีความหมายต่างจาก... สติ - สโต <---ที่ภาษาไทยแปลว่า " มี "....
ผมจะบอกว่า.. " ใช้หลักมหาปเทส4 "... ในการสืบสวนสอบสวน...ครับ
คุณต้องไปดู...การใช้คำว่า " อตฺถิ " ..และ.. " สติ "...ในพระสูตรต่างๆ...
ต้องไปดูว่าพระศาสดาท่านใช้ 2 คำนี้...กับอะไร... แล้วคุณจะรู้ถึงความหมายที่ต่างกัน..
...
อตฺถิ ---
ความมี...อย่างเป็นสัจจะ...
สติ ----
ความมี....แบบเกิดปรากฎ..และ..จะเสื่อมไป
(ในกรณีที่วัจฉปริพาชกถามว่าอัตตามีหรือ?... ท่านใช้คำว่า " อตฺถิ "...คือถามถึงความเป็นสัจจะ)
เอาแค่นี้หละ... เอาไปใคร่ควรดู..
เพื่อที่จะได้เป็นนักธรรม.. อย่าเป็นเพียงแค่แปล..
สติ - สโต vs อตฺถ - อตฺถิ .... ไทยแปลหมือนกันว่า " มี "... แต่มันไม่ใช่... นักธรรมจะแยกได้..
เมื่ออ่าน..พระสูตรนี้ " อานันทสูตร "... ท่านทั้งหลายไม่งงหรือ...
ถ้าตอบว่าอัตตา " มี " .........ก็จะไปเข้ากับ " สัสสตวาทะ "......มิจฉาทิฏฐิ
ถ้าตอบว่าอัตตา " ไม่มี "......ก็จะไปเข้ากับ " อุจเฉทวาทะ "...มิจฉาทิฏฐิ..อีก
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
อย่างนี้... แล้วที่ถูกเป็นอย่างไร? ปัญหามันอยู่ที่ไหน?
ถ้าไปเปิดดิกแล้วแปล..ก็จะได้คำแปลออกมาดังนี้..
อตฺถิ --- มี, เป็น
สติ ---- มี, ความละลีกได้
ปัณหาเหล่านี้...มันอยูที่การแปล... โดยที่ไปแปลคำว่า..
อตฺถิ = สติ = " มี "... มันจึงเป็นปัญหา... ใครที่ไม่ไปดูบาลีจะแยกไม่ออก..
เมื่อแยกไม่ออก..ก็จะพลักหลงไปสู่อุจเฉทวาทะ.. ==>
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
คราวนี้.. มีนักแปลสงสัยคำว่า " สโต "... แปลว่า " มี "..ใช่ไหม?
เอาผมจะยกมาให้ดู
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
คราวนี้... ผมรู้ได้อย่างไรว่า
อตฺถ - อตฺถิ ...มันมีความหมายต่างจาก... สติ - สโต <---ที่ภาษาไทยแปลว่า " มี "....
ผมจะบอกว่า.. " ใช้หลักมหาปเทส4 "... ในการสืบสวนสอบสวน...ครับ
คุณต้องไปดู...การใช้คำว่า " อตฺถิ " ..และ.. " สติ "...ในพระสูตรต่างๆ...
ต้องไปดูว่าพระศาสดาท่านใช้ 2 คำนี้...กับอะไร... แล้วคุณจะรู้ถึงความหมายที่ต่างกัน..
...
อตฺถิ --- ความมี...อย่างเป็นสัจจะ...
สติ ---- ความมี....แบบเกิดปรากฎ..และ..จะเสื่อมไป
(ในกรณีที่วัจฉปริพาชกถามว่าอัตตามีหรือ?... ท่านใช้คำว่า " อตฺถิ "...คือถามถึงความเป็นสัจจะ)
เอาแค่นี้หละ... เอาไปใคร่ควรดู..เพื่อที่จะได้เป็นนักธรรม.. อย่าเป็นเพียงแค่แปล..