จากอรรถกถาอุปปาทสูตรที่ ๔..
รรถกถาอุปปาทสูตรที่ ๔
พึงทราบวินิจฉัยในอุปปาทสูตรที่ ๔ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า ธมฺมฏฐิตตา ได้แก่ ภาวะที่ทรงตัวอยู่ได้เองตามสภาพ.
บทว่า ธมฺมนิยามตา ได้แก่ ความแน่นอนโดยสภาพ.
บทว่า สพฺเพ สงฺขารา ได้แก่ สังขารอันเป็นไปในภูมิ ๔.
บทว่า อนิจฺจา ความว่า ชื่อว่า อนิจฺจา ด้วยอรรถว่าเป็นแล้วกลับไม่เป็น.
บทว่า ทุกฺขา ความว่า ชื่อว่าทุกข์ ด้วยอรรถว่าบีบคั้นเสมอ.
บทว่า อนตฺตา ความว่า ชื่อว่า อนตฺตา เพราะอรรถว่าไม่เป็นไปตามอำนาจ.
ในพระสูตรนี้ เป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสลักษณะทั้ง ๓ อย่างไว้คละกันดังพรรณนามาฉะนี้.
ถามว่า..มันไม่เป็นไปตามอำนาจอย่างไร ?
บทว่า อนตฺตา ความว่า ชื่อว่า อนตฺตา เพราะอรรถว่าไม่เป็นไปตามอำนาจ
รรถกถาอุปปาทสูตรที่ ๔
พึงทราบวินิจฉัยในอุปปาทสูตรที่ ๔ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า ธมฺมฏฐิตตา ได้แก่ ภาวะที่ทรงตัวอยู่ได้เองตามสภาพ.
บทว่า ธมฺมนิยามตา ได้แก่ ความแน่นอนโดยสภาพ.
บทว่า สพฺเพ สงฺขารา ได้แก่ สังขารอันเป็นไปในภูมิ ๔.
บทว่า อนิจฺจา ความว่า ชื่อว่า อนิจฺจา ด้วยอรรถว่าเป็นแล้วกลับไม่เป็น.
บทว่า ทุกฺขา ความว่า ชื่อว่าทุกข์ ด้วยอรรถว่าบีบคั้นเสมอ.
บทว่า อนตฺตา ความว่า ชื่อว่า อนตฺตา เพราะอรรถว่าไม่เป็นไปตามอำนาจ.
ในพระสูตรนี้ เป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสลักษณะทั้ง ๓ อย่างไว้คละกันดังพรรณนามาฉะนี้.
ถามว่า..มันไม่เป็นไปตามอำนาจอย่างไร ?