"จิตอาสา” เป็นการให้ การเสียสละ ทำกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ หรือสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น โดยไม่หวังผลตอบแทน ด้านหนึ่งก็เพื่อเป็นการ ฝึกฝนตนเองเพื่อลดอัตตาตนเอง ในขณะที่ “จิตสำนึกสาธารณะ” นอกจากการอุทิศตนเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม ยังรวมถึงการใช้และการรักษาสิ่งของที่เป็นของส่วนรวมอีกด้วย
ถ้าอ่านตามนิยามเป็นสิ่งที่ดี มีคุณค่าในตัว สร้างประโยชน์ ไม่หวังผลตอบแทน ฯ
ก็แค่สงสัยว่า ถ้าเป็นหน่วยงานรัฐ ที่ใช้งบประมาณแผ่นดิน ใช้บุคลากรของรัฐ ใช้เวลาราชการ ฯลฯ
กับคำว่า จิตอาสา นิยามมันดูแปลกๆ
CSR (Corporate Social Responsibility) ของภาคเอกชนจะใช้คำว่า จิตอาสา ก็ยังอยู่ในนิยามบ้าง
แต่หน่วยงานของรัฐ เช่น หน่วยบรรเทาทุกข์ หน่วยบรรเทาภัยพิบัติ หน่วยบรรเทาสาธารณภัย ฯลฯ
ก็เป็นหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ที่ต้องทำตามภาระกิจที่ได้รับมอบหมาย ใช้เวลาราชการ ใช้บุคลากรของรัฐ ใช้เงินงบของรัฐ ฯ
พวกเขาทำตามหน้าที่ ส่วนหนึ่งเพื่อรายได้ ซึ่งมันไม่ได้สอดคล้องกับคำว่า ไม่หวังผลตอบแทน
การทำงานเพื่อส่วนรวมโดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเรื่องที่ดีนะ อย่าไปด้อยค่ากัน
แต่การคำนึงถึงการใช้ภาษาวิบัติ ก็ไม่ควรมองข้าม
จิตอาสา กับ ทำงานตามหน้าที่ ต่างกันอย่างไร
ถ้าอ่านตามนิยามเป็นสิ่งที่ดี มีคุณค่าในตัว สร้างประโยชน์ ไม่หวังผลตอบแทน ฯ
ก็แค่สงสัยว่า ถ้าเป็นหน่วยงานรัฐ ที่ใช้งบประมาณแผ่นดิน ใช้บุคลากรของรัฐ ใช้เวลาราชการ ฯลฯ
กับคำว่า จิตอาสา นิยามมันดูแปลกๆ
CSR (Corporate Social Responsibility) ของภาคเอกชนจะใช้คำว่า จิตอาสา ก็ยังอยู่ในนิยามบ้าง
แต่หน่วยงานของรัฐ เช่น หน่วยบรรเทาทุกข์ หน่วยบรรเทาภัยพิบัติ หน่วยบรรเทาสาธารณภัย ฯลฯ
ก็เป็นหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ที่ต้องทำตามภาระกิจที่ได้รับมอบหมาย ใช้เวลาราชการ ใช้บุคลากรของรัฐ ใช้เงินงบของรัฐ ฯ
พวกเขาทำตามหน้าที่ ส่วนหนึ่งเพื่อรายได้ ซึ่งมันไม่ได้สอดคล้องกับคำว่า ไม่หวังผลตอบแทน
การทำงานเพื่อส่วนรวมโดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเรื่องที่ดีนะ อย่าไปด้อยค่ากัน
แต่การคำนึงถึงการใช้ภาษาวิบัติ ก็ไม่ควรมองข้าม