ท่าแขก” เมืองเอกของแขวงคำม่วน ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำโขงกับอำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
นอกจากเป็นจุดเชื่อมเส้นทางคมนาคมของไทยไปยังชายทะเลเวียดนามที่ “สั้นที่สุด” ด้วยระยะทางประมาณ 220 กิโลเมตรผ่านถนนหมายเลข 12 ของลาวแล้วยังเป็นดินแดนที่เคยเกิดเหตุการณ์เลวร้ายรุนแรงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของลาว ชนิดที่คนลาวไม่มีวันลืม
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเมืองท่าแขก เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 1946(พ.ศ.2489) มีผู้ถูกสังหารมากกว่า 3,000 คน ในนี้มีทั้งผู้ชาย ผู้หญิง คนหนุ่ม-สาว คนชรา ไม่เว้นแม้กระทั่งลูกเด็กเล็กแดง
จากเหตุการณ์ครั้งนั้น ทำให้วันที่ 21 มีนาคม 1946 เคยถูกกำหนดให้เป็นวัน “เคียดแค้นของประชาชนลาว” แต่ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นวัน “ผู้เสียสละร่างกายและเสียสละชีวิตเพื่อประเทศชาติ” จนถึงทุกวันนี้
อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ได้เวียนมาบรรจบครบรอบของทุกปี นอกจากมีพิธีวางช่อดอกไม้เพื่อไว้อาลัยแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากเหตุการณ์ดังกล่าวแล้ว สื่อต่างๆของลาว โดยเฉพาะสื่อของรัฐ
ยังมีการบอกเล่าทบทวนเรื่องราวที่เกิดขึ้นโดยละเอียด เพื่อไม่ให้คนลาวในรุ่นหลังลืมความเจ็บปวดที่บรรพบุรุษเคยต้องประสพ…
วันที่ 21 มีนาคม 2565 เพจและเว็บไซต์สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งชาติลาว นำเสนอเนื้อหาที่เขียนโดย “บุนเตียง จันทะวง” บอกเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในหัวข้อ “ระลึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่เมืองท่าแขก ในวันที่ 21 มีนาคม ครบรอบ 76 ปี” ถอดความได้ดังนี้
21 มีนาคม “เคียดแค้นของคนลาว จาก ปี 1946 ที่ฝรั่งเศสต้องการกลับมามีอำนาจในลาว และฆ่าเด็ก คนแก่ ชายหญิง ไปกว่า3000คน
นอกจากเป็นจุดเชื่อมเส้นทางคมนาคมของไทยไปยังชายทะเลเวียดนามที่ “สั้นที่สุด” ด้วยระยะทางประมาณ 220 กิโลเมตรผ่านถนนหมายเลข 12 ของลาวแล้วยังเป็นดินแดนที่เคยเกิดเหตุการณ์เลวร้ายรุนแรงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของลาว ชนิดที่คนลาวไม่มีวันลืม
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเมืองท่าแขก เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 1946(พ.ศ.2489) มีผู้ถูกสังหารมากกว่า 3,000 คน ในนี้มีทั้งผู้ชาย ผู้หญิง คนหนุ่ม-สาว คนชรา ไม่เว้นแม้กระทั่งลูกเด็กเล็กแดง
จากเหตุการณ์ครั้งนั้น ทำให้วันที่ 21 มีนาคม 1946 เคยถูกกำหนดให้เป็นวัน “เคียดแค้นของประชาชนลาว” แต่ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นวัน “ผู้เสียสละร่างกายและเสียสละชีวิตเพื่อประเทศชาติ” จนถึงทุกวันนี้
อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ได้เวียนมาบรรจบครบรอบของทุกปี นอกจากมีพิธีวางช่อดอกไม้เพื่อไว้อาลัยแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากเหตุการณ์ดังกล่าวแล้ว สื่อต่างๆของลาว โดยเฉพาะสื่อของรัฐ
ยังมีการบอกเล่าทบทวนเรื่องราวที่เกิดขึ้นโดยละเอียด เพื่อไม่ให้คนลาวในรุ่นหลังลืมความเจ็บปวดที่บรรพบุรุษเคยต้องประสพ…
วันที่ 21 มีนาคม 2565 เพจและเว็บไซต์สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งชาติลาว นำเสนอเนื้อหาที่เขียนโดย “บุนเตียง จันทะวง” บอกเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในหัวข้อ “ระลึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่เมืองท่าแขก ในวันที่ 21 มีนาคม ครบรอบ 76 ปี” ถอดความได้ดังนี้