คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 20
คปภ. ออกคำสั่ง ให้ บ.ประกันภัย อนุโลมจ่ายเคลมประกันโควิด กรณี HI , CI หรือ Hotel Isolation บรรเทาความเดือดร้อนของผู้เอาประกันภัย
นายสุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการ คปภ. เปิดเผยว่า สำนักงาน คปภ. ออกคำสั่งนายทะเบียน เรื่อง การจ่ายค่ารักษาพยาบาลและค่าชดเชยรายวันหรือค่าชดเชยรายได้ตามกรมธรรม์ประกันภัย สำหรับผู้เอาประกันภัยที่ติดเชื้อ COVID-19 และได้เข้ารับการดูแลรักษาพยาบาล ในสถานพยาบาล ณ ที่พำนักของผู้ป่วย แบบ HI , CI และ Hotel Isolation
โดยได้มีหนังสือแจ้งบริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย สมาคมประกันชีวิตไทย และสมาคมประกันวินาศภัยไทย ให้ถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันแล้ว เมื่อวันที่ 16 มี.ค.65 หลังจากได้หารือร่วมกัน 4 ฝ่าย เป็นข้อยุติ ให้อนุโลมจ่ายในบางกรณีที่จำเป็นสำหรับพักรักษาตัวแบบ HI , CI แม้ว่าจะอยู่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในกรมธรรม์และไม่ได้คำนวณค่าเบี้ยประกันเพิ่มเติมก็ตาม โดยบริษัทประกันภัยยอมจ่ายค่ารักษาพยาบาลและค่าชดเชยรายวันให้แก่ผู้เอาประกันภัยที่รักษาตัวแบบ HI หรือ CI ตามเงื่อนไขที่ได้ประชุมตกลงร่วมกัน
คำสั่งนายทะเบียนดังกล่าว มีเนื้อหาสาระสำคัญ เช่น ให้มีผลใช้บังคับสำหรับการใช้สิทธิเรียกร้อง ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ย. 64 จนถึงวันที่ 16 พ.ค.65 และให้บริษัทจ่ายค่าชดเชยรายวันหรือค่าชดเชยรายได้ ตามกรมธรรม์ประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง โดยต้องมีเอกสารการตรวจพบเชื้อ COVID-19 จากห้องปฏิบัติการที่ผ่านการรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยวิธี RT-PCR เป็นต้น
การออกคำสั่งนายทะเบียนเป็นการอนุโลมจ่าย เพราะเงื่อนไขในกรมธรรม์ประกันภัยที่ตกลงกันไว้ไม่ได้รวมถึงกรณี HI , CI หรือ Hotel Isolation เพื่อวางแนวปฏิบัติที่ชัดเจนให้บริษัทประกันภัยถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน ลดข้อพิพาทและบรรเทาความเดือดร้อนของผู้เอาประกันภัยที่เจ็บป่วยจากการติดเชื้อโควิดแล้วเข้ารับการรักษาตัวแบบ HI , CI หรือ Hotel Isolation
https://web.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/331197012375976
กรมควบคุมโรค แจ้งจุดให้บริการทำ Vaccine Passport (หนังสือรับรองการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโควิด19 ) เพื่อใช้เดินทางไปต่างประเทศ
จุดให้บริการดูข้อมูลตามภาพ
https://web.facebook.com/Rachadaspoke/posts/385275953602460
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 18 มีนาคม 2565 ฉีดวัคซีนแล้ว 126,799,701 โดส และทั่วโลกแล้ว 11,068 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 1,014.7 ล้านโดส
(18 มีนาคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 11,068 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 19 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 557 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 217 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 1,014.7 ล้านโดส โดยบรูไนฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (95% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 363.8 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 18 มีนาคม 2565 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 126,799,701 โดส
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 11,068 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 18 มีนาคม 2565
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 126,799,701 โดส ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 54,663,051 โดส (82.6% ของประชากร)
-เข็มสอง 50,057,356 โดส (75.6% ของประชากร)
-เข็มสาม 22,079,294 โดส (33.4% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ. 64 – 18 มี.ค. 65 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 126,799,701 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 186,612 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 172,949 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 22,911,651 โดส
- เข็มที่ 2 3,600,325 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 13,943,898 โดส
- เข็มที่ 2 28,513,136 โดส
- เข็มที่ 3 5,239,637 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 7,556,222 โดส
- เข็มที่ 2 7,248,460 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 9,486,928 โดส
- เข็มที่ 2 9,817,657 โดส
- เข็มที่ 3 13,391,761 โดส
วัคซีน Moderna
- เข็มที่ 1 764,352 โดส
- เข็มที่ 2 877,778 โดส
- เข็มที่ 3 3,447,896 โดส
4) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 1,014,713,821 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 363,890,835 โดส (70.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 201,079,635 โดส (81.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 145,729,130 โดส (63%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 126,799,701 โดส (82.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. มาเลเซีย จำนวน 68,376,641 โดส (83.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. พม่า จำนวน 46,697,342 โดส (46.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
7. กัมพูชา จำนวน 37,518,464 โดส (87.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
8. สิงคโปร์ จำนวน 13,721,340 โดส (93%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 9,859,123 โดส (74.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 1,041,610 โดส (95%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม
5) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.75%
2. ยุโรป 10.02%
3. อเมริกาเหนือ 8.52%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.19%
5. แอฟริกา 3.90%
6. โอเชียเนีย 0.62%
6) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 3,209.04 ล้านโดส (226.9% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,808.87 ล้านโดส (131.2%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 557.45 ล้านโดส (166.3%)
4. บราซิล จำนวน 404.89 ล้านโดส (191.2%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 363.89 ล้านโดส (131.9%)
7) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (310.4%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (262.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. ชิลี (256.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
4. กาตาร์ (242.3%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer และ Moderma)
5. มัลดีฟส์ (241.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
6. บรูไน (236.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford และ Sinopharm)
7. ฝรั่งเศส (236.2%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech, Moderna, J&J และ AstraZeneca/Oxford)
8. เกาหลีใต้ (234.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech J&J AstraZeneca/Oxford และ Moderna)
9. สิงคโปร์ (233.3%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
10. บาห์เรน (233%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://web.facebook.com/nrctofficial/posts/279075477747225
คปภ. ออกคำสั่ง ให้ บ.ประกันภัย อนุโลมจ่ายเคลมประกันโควิด กรณี HI , CI หรือ Hotel Isolation บรรเทาความเดือดร้อนของผู้เอาประกันภัย
นายสุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการ คปภ. เปิดเผยว่า สำนักงาน คปภ. ออกคำสั่งนายทะเบียน เรื่อง การจ่ายค่ารักษาพยาบาลและค่าชดเชยรายวันหรือค่าชดเชยรายได้ตามกรมธรรม์ประกันภัย สำหรับผู้เอาประกันภัยที่ติดเชื้อ COVID-19 และได้เข้ารับการดูแลรักษาพยาบาล ในสถานพยาบาล ณ ที่พำนักของผู้ป่วย แบบ HI , CI และ Hotel Isolation
โดยได้มีหนังสือแจ้งบริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย สมาคมประกันชีวิตไทย และสมาคมประกันวินาศภัยไทย ให้ถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันแล้ว เมื่อวันที่ 16 มี.ค.65 หลังจากได้หารือร่วมกัน 4 ฝ่าย เป็นข้อยุติ ให้อนุโลมจ่ายในบางกรณีที่จำเป็นสำหรับพักรักษาตัวแบบ HI , CI แม้ว่าจะอยู่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในกรมธรรม์และไม่ได้คำนวณค่าเบี้ยประกันเพิ่มเติมก็ตาม โดยบริษัทประกันภัยยอมจ่ายค่ารักษาพยาบาลและค่าชดเชยรายวันให้แก่ผู้เอาประกันภัยที่รักษาตัวแบบ HI หรือ CI ตามเงื่อนไขที่ได้ประชุมตกลงร่วมกัน
คำสั่งนายทะเบียนดังกล่าว มีเนื้อหาสาระสำคัญ เช่น ให้มีผลใช้บังคับสำหรับการใช้สิทธิเรียกร้อง ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ย. 64 จนถึงวันที่ 16 พ.ค.65 และให้บริษัทจ่ายค่าชดเชยรายวันหรือค่าชดเชยรายได้ ตามกรมธรรม์ประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง โดยต้องมีเอกสารการตรวจพบเชื้อ COVID-19 จากห้องปฏิบัติการที่ผ่านการรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยวิธี RT-PCR เป็นต้น
การออกคำสั่งนายทะเบียนเป็นการอนุโลมจ่าย เพราะเงื่อนไขในกรมธรรม์ประกันภัยที่ตกลงกันไว้ไม่ได้รวมถึงกรณี HI , CI หรือ Hotel Isolation เพื่อวางแนวปฏิบัติที่ชัดเจนให้บริษัทประกันภัยถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน ลดข้อพิพาทและบรรเทาความเดือดร้อนของผู้เอาประกันภัยที่เจ็บป่วยจากการติดเชื้อโควิดแล้วเข้ารับการรักษาตัวแบบ HI , CI หรือ Hotel Isolation
https://web.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/331197012375976
กรมควบคุมโรค แจ้งจุดให้บริการทำ Vaccine Passport (หนังสือรับรองการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโควิด19 ) เพื่อใช้เดินทางไปต่างประเทศ
จุดให้บริการดูข้อมูลตามภาพ
https://web.facebook.com/Rachadaspoke/posts/385275953602460
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 18 มีนาคม 2565 ฉีดวัคซีนแล้ว 126,799,701 โดส และทั่วโลกแล้ว 11,068 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 1,014.7 ล้านโดส
(18 มีนาคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 11,068 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 19 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 557 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 217 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 1,014.7 ล้านโดส โดยบรูไนฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (95% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 363.8 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 18 มีนาคม 2565 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 126,799,701 โดส
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 11,068 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 18 มีนาคม 2565
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 126,799,701 โดส ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 54,663,051 โดส (82.6% ของประชากร)
-เข็มสอง 50,057,356 โดส (75.6% ของประชากร)
-เข็มสาม 22,079,294 โดส (33.4% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ. 64 – 18 มี.ค. 65 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 126,799,701 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 186,612 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 172,949 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 22,911,651 โดส
- เข็มที่ 2 3,600,325 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 13,943,898 โดส
- เข็มที่ 2 28,513,136 โดส
- เข็มที่ 3 5,239,637 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 7,556,222 โดส
- เข็มที่ 2 7,248,460 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 9,486,928 โดส
- เข็มที่ 2 9,817,657 โดส
- เข็มที่ 3 13,391,761 โดส
วัคซีน Moderna
- เข็มที่ 1 764,352 โดส
- เข็มที่ 2 877,778 โดส
- เข็มที่ 3 3,447,896 โดส
4) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 1,014,713,821 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 363,890,835 โดส (70.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 201,079,635 โดส (81.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 145,729,130 โดส (63%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 126,799,701 โดส (82.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. มาเลเซีย จำนวน 68,376,641 โดส (83.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. พม่า จำนวน 46,697,342 โดส (46.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
7. กัมพูชา จำนวน 37,518,464 โดส (87.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
8. สิงคโปร์ จำนวน 13,721,340 โดส (93%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 9,859,123 โดส (74.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 1,041,610 โดส (95%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม
5) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.75%
2. ยุโรป 10.02%
3. อเมริกาเหนือ 8.52%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.19%
5. แอฟริกา 3.90%
6. โอเชียเนีย 0.62%
6) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 3,209.04 ล้านโดส (226.9% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,808.87 ล้านโดส (131.2%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 557.45 ล้านโดส (166.3%)
4. บราซิล จำนวน 404.89 ล้านโดส (191.2%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 363.89 ล้านโดส (131.9%)
7) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (310.4%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (262.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. ชิลี (256.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
4. กาตาร์ (242.3%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer และ Moderma)
5. มัลดีฟส์ (241.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
6. บรูไน (236.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford และ Sinopharm)
7. ฝรั่งเศส (236.2%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech, Moderna, J&J และ AstraZeneca/Oxford)
8. เกาหลีใต้ (234.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech J&J AstraZeneca/Oxford และ Moderna)
9. สิงคโปร์ (233.3%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
10. บาห์เรน (233%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://web.facebook.com/nrctofficial/posts/279075477747225
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭มาลาริน💜19มี.ค.ไทยไม่ติดTop10 โลก/ป่วย25,804คน หายป่วย18,801คน ตาย87คน/วิจัยฟาวิพิราเวียร์ทำอาการดี79%/หมอ ยงแนะฉีด
https://www.bangkokbiznews.com/social/994547
https://www.naewna.com/local/642432
งย้ำอย่าลังเลตัดสินใจฉีดวัคซีนโควิด ช่วยลดความสูญเสียได้
วันนี้ ( 19 มี.ค. 65 )ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว "Yong Poovorawan" ระบุว่า การรับวัคซีน covid 19 เป็นไปโดยสมัครใจ จะเลือกวัคซีนชนิดใด ก็สามารถทำได้ การให้ความรู้ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับวัคซีน ประโยชน์ในการได้รับวัคซีน และอาการไม่พึงประสงค์
การตัดสินใจ อยู่กับผู้รับ ไม่ได้มีการบังคับ โดยคำนึงถึง น้ำหนักของประโยชน์และความเสี่ยงมาเปรียบเทียบกัน ผมจะข้ามถนนที่สีลม ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น มีแน่นอน ความจำเป็นที่จะต้องข้ามถนน ก็ต้องตัดสินใจ ความเสี่ยงในการข้ามถนนที่สีลม อาจจะมีมากกว่าความเสี่ยงจากการได้รับวัคซีน เราจะเห็นได้จากอุบัติเหตุทางท้องถนน
กลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะที่เราเรียกว่า 608 คือผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เมื่อติดเชื้อโควิค 19 จะทำให้เกิดความรุนแรง ต้องนอนโรงพยาบาล หรืออาจจะเข้า ICU และอาจทำให้ถึงชีวิตได้
ดังที่เราเห็นยอดการเสียชีวิตทุกวันนี้ ส่วนใหญ่ เป็นผู้สูงอายุ มีโรคประจำตัวเรื้อรัง กลุ่มดังกล่าวจึงมีความจำเป็น ที่จะต้องได้รับการป้องกัน และดูแลเป็นพิเศษ สิ่งหนึ่งในการลดความรุนแรงคือ วัคซีน
ทั่วโลกขณะนี้ฉีดวัคซีนไปแล้ว 11,000 ล้านโดส วัคซีนขณะนี้มีเพียงพอ ให้เลือกชนิดของวัคซีนได้เลย เราจะต้องอยู่กับ โควิด 19 จำเป็นที่จะต้องลดความสูญเสียให้น้อยที่สุด
https://www.tnnthailand.com/news/covid19/108383/
ติดตามข่าวโควิดวันนี้ค่ะ
จำนวนผู้ติดเชื้อยังทรงๆตัว ผู้เสียชีวิตเพิ่ม
สธ.เผยผลวิจัยยาฟาวิพิราเวียร์ทำอาการดีขึ้น79%
หมอ ยง แนะฉีดวัคซีนลดความสูญเสีย
ดูแลสุขภาพด้วยค่ะ
....