คำว่า ธรรมทั้งปวง เราจะพบเห็นอยู่ 2 อย่าง คือคำว่า "ธรรมทั้งปวง" กับคำว่า "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา"..
(1) "ธรรมทั้งปวง" ก็คือทั้งหมดทั้งปวงที่พระพุทธตรัสถึงโดยทั่วๆไป ไม่มียกเว้นรวมทั้งนิพพานด้วยนั่นแหละ....
(2) "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ประโยคนี้เป็นการตรัสถึงโดยเฉพาะ โดยมีเงื่อนไข หรือข้อยกเว้นอยู่แล้วใน
บริบทที่ทรงตรัส ******ถ้าพบคำว่าธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตาที่ไหน จะต้องพบคำว่า
"สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง" + "สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์" แล้วจึงตามด้วยคำว่า
"ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทุกครั้งไปที่ตรัสอย่างนี้.....
นี้กรณีย์ที่ 1.
....ที่ต้องตรัสว่า "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทำไมไม่ตรัสว่าสังขารทั้งปวงเป็นอนัตตา นั่นเพราะเป็น
หลักทางภาษา เป็นความงาม ความสละสลวยทางภาษา ซึ่งเป็นหลักของบาลีไวยากรณ์กรณ์ทั่วไป
เพื่อไม่ให้เป็นการตรัสคำซ้ำซาก คำว่า ธรรม จึงเป็นคำ 2 คำเอาบวกกัน ทั้งคำว่า
******สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง*****และคำว่า *****สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์***** นั่นเอง
ท่านที่เคยผ่านการเรียนการสอนบาลีไวยากรณ์มา ต่างทราบกันดี...
....ท่านชิกหมายเลข 5150763 ชอบนักชอบหนาชอบเอามาอ้างแบบมักง่ายไร้เหตุผลว่า คำว่า
*****ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา***** หมายเอา สังขตธรรม + อสังขตธรรม
ทั้งที่พระพุทธเจ้าท่านก็แยกแยะให้เห็นกันจะๆอยู่แล้วว่า
มันเป็นคนละธรรมกันอย่างไร....(เรียกได้ว่า ตาไม่มีแวว)
เอ้า...ดู
สังขตธรรมเป็นไฉน....
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะของสังขตธรรม ๓ ประการ ๓ ประการเป็นไฉน คือ
ความเกิดขึ้นปรากฏ ๑
ความเสื่อมปรากฏ ๑
เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ ๑
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะของสังขต-*ธรรม ๓ ประการนี้แล ฯ
...............................................................................................................
อสังขตธรรมเป็นไฉน....
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย อสังขตลักษณะของอสังขตธรรม ๓ประการนี้ ๓ ประการเป็นไฉน คือ
ไม่ปรากฏความเกิด ๑
ไม่ปรากฏความเสื่อม ๑
เมื่อตั้งอยู่ไม่ปรากฏความแปรปรวน ๑
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย อสังขตลักษณะของอสังขตธรรม ๓ ประการนี้แล ฯ
******เอามาให้ดูกันขนาดนี้แล้วถ้ายังไม่เข้าใจก็เตรียมลงหม้อได้เลย....
มันเป๋นจะอิ้ๆเน้อ
จะอู้หื้อ.....
ท่านสมาชิกหมายเลข 5150763 มานี่หน่อยผมจะพูดเรื่อง ธรรมทั้งปวงให้ฟัง ?
(1) "ธรรมทั้งปวง" ก็คือทั้งหมดทั้งปวงที่พระพุทธตรัสถึงโดยทั่วๆไป ไม่มียกเว้นรวมทั้งนิพพานด้วยนั่นแหละ....
(2) "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ประโยคนี้เป็นการตรัสถึงโดยเฉพาะ โดยมีเงื่อนไข หรือข้อยกเว้นอยู่แล้วใน
บริบทที่ทรงตรัส ******ถ้าพบคำว่าธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตาที่ไหน จะต้องพบคำว่า
"สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง" + "สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์" แล้วจึงตามด้วยคำว่า
"ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทุกครั้งไปที่ตรัสอย่างนี้.....
นี้กรณีย์ที่ 1.
....ที่ต้องตรัสว่า "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทำไมไม่ตรัสว่าสังขารทั้งปวงเป็นอนัตตา นั่นเพราะเป็น
หลักทางภาษา เป็นความงาม ความสละสลวยทางภาษา ซึ่งเป็นหลักของบาลีไวยากรณ์กรณ์ทั่วไป
เพื่อไม่ให้เป็นการตรัสคำซ้ำซาก คำว่า ธรรม จึงเป็นคำ 2 คำเอาบวกกัน ทั้งคำว่า
******สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง*****และคำว่า *****สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์***** นั่นเอง
ท่านที่เคยผ่านการเรียนการสอนบาลีไวยากรณ์มา ต่างทราบกันดี...
....ท่านชิกหมายเลข 5150763 ชอบนักชอบหนาชอบเอามาอ้างแบบมักง่ายไร้เหตุผลว่า คำว่า
*****ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา***** หมายเอา สังขตธรรม + อสังขตธรรม
ทั้งที่พระพุทธเจ้าท่านก็แยกแยะให้เห็นกันจะๆอยู่แล้วว่า
มันเป็นคนละธรรมกันอย่างไร....(เรียกได้ว่า ตาไม่มีแวว)
เอ้า...ดู
สังขตธรรมเป็นไฉน....
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะของสังขตธรรม ๓ ประการ ๓ ประการเป็นไฉน คือ
ความเกิดขึ้นปรากฏ ๑
ความเสื่อมปรากฏ ๑
เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ ๑
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะของสังขต-*ธรรม ๓ ประการนี้แล ฯ
...............................................................................................................
อสังขตธรรมเป็นไฉน....
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย อสังขตลักษณะของอสังขตธรรม ๓ประการนี้ ๓ ประการเป็นไฉน คือ
ไม่ปรากฏความเกิด ๑
ไม่ปรากฏความเสื่อม ๑
เมื่อตั้งอยู่ไม่ปรากฏความแปรปรวน ๑
....ดูกรภิกษุทั้งหลาย อสังขตลักษณะของอสังขตธรรม ๓ ประการนี้แล ฯ
******เอามาให้ดูกันขนาดนี้แล้วถ้ายังไม่เข้าใจก็เตรียมลงหม้อได้เลย....
มันเป๋นจะอิ้ๆเน้อ
จะอู้หื้อ.....