17 มี.ค. 65 ทวิตเตอร์ น.ส.นัฏฐิกา โล่ห์วีระ ว่าที่ผู้สมัคร ส.ส. ชัยภูมิ เขต 1 พรรคก้าวไกล
Nattika
@Nattikaloweera
เรามีกระบวนการในสภา มีผู้แทนไว้เป็นปากเป็นเสียง แต่รัฐบาลออกหมายจับส.ส. ฟ้องหมิ่นประมาทแทนการออกมาตอบคำถาม วิธีการแบบเผด็จการไม่เคยหายไปจากหัวของรัฐบาลชุดพลเอกประยุทธ์ #saveโรม
https://twitter.com/Nattikaloweera/status/1504458663192588291
📍 ทั้งนี้ น.ส. นัฏฐิกา โล่ห์วีระ : เป็นอดีตกลุ่ม ‘New Dem’ ของ ปชป.
โดยเป็น ผู้สมัคร ส.ส. ในนาม พรรคปชป. ชัยภูมิ เขต 1 ตอนเลือกตั้ง ปี 62
https://prachatai.com/journal/2019/03/81459
.
📢#ตรวจสอบ
.
1. ในกรณีที่ “มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อฯ” ที่ดำเนินคดี กับ “โรม” สาเหตุมาจาก “โรม” ได้ทำการ “อภิปรายนอกสภา” ไม่ได้ “อภิปรายในสภา”
*
2. ต่อให้ อภิปรายในสภา ก็ตาม ใน รธน.ม. 124 วรรคสอง ระบุไว้ว่า
.
“เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งไม่คุ้มครองสมาชิกผู้กล่าวถ้อยคําในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทาง วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใด หากถ้อยคําที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกล่าวถ้อยคํานั้นมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้น”
.
สรุป ถ้าการประชุมนั้น มีการถ่ายทอด เสียง หรือ ภาพ ออกไปนอกห้องประชุม ผู้ที่ถูกพาดพิง เเล้วคิดว่าตนเองเสียหายสามารถฟ้องร้องผู้อภิปรายได้ ยกเว้น รมต. หรือ ส.ส. ในสภา
*
📢มาตรา 124
*
ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมวุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา สมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคำใดในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็นหรือออกเสียงลงคะแนน ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผู้ใดจะนำไปเป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวสมาชิกผู้นั้นในทางใด ๆ มิได้
*
เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งไม่คุ้มครองสมาชิกผู้กล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใด หากถ้อยคำที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกล่าวถ้อยคำนั้นมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้น
*
ในกรณีตามวรรคสอง ถ้าสมาชิกกล่าวถ้อยคำใดที่อาจเป็นเหตุให้บุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้นได้รับความเสียหาย ให้ประธานแห่งสภานั้นจัดให้มีการโฆษณาคำชี้แจงตามที่บุคคลนั้นร้องขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กำหนดในข้อบังคับการประชุมของสภานั้น ทั้งนี้ โดยไม่กระทบต่อสิทธิของบุคคลในการฟ้องคดีต่อศาล
*
เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ ย่อมคุ้มครองไปถึงผู้พิมพ์และผู้โฆษณารายงานการประชุมตามข้อบังคับของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แล้วแต่กรณี และคุ้มครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ตลอดจนผู้ดำเนินการถ่ายทอดการประชุมสภาทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใดซึ่งได้รับอนุญาตจากประธานแห่งสภานั้นด้วยโดยอนุโลม
@@@ บิดเบือนทั้งพรรค?? @@@
Nattika
@Nattikaloweera
เรามีกระบวนการในสภา มีผู้แทนไว้เป็นปากเป็นเสียง แต่รัฐบาลออกหมายจับส.ส. ฟ้องหมิ่นประมาทแทนการออกมาตอบคำถาม วิธีการแบบเผด็จการไม่เคยหายไปจากหัวของรัฐบาลชุดพลเอกประยุทธ์ #saveโรม
https://twitter.com/Nattikaloweera/status/1504458663192588291
📍 ทั้งนี้ น.ส. นัฏฐิกา โล่ห์วีระ : เป็นอดีตกลุ่ม ‘New Dem’ ของ ปชป.
โดยเป็น ผู้สมัคร ส.ส. ในนาม พรรคปชป. ชัยภูมิ เขต 1 ตอนเลือกตั้ง ปี 62
https://prachatai.com/journal/2019/03/81459
.
📢#ตรวจสอบ
.
1. ในกรณีที่ “มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อฯ” ที่ดำเนินคดี กับ “โรม” สาเหตุมาจาก “โรม” ได้ทำการ “อภิปรายนอกสภา” ไม่ได้ “อภิปรายในสภา”
*
2. ต่อให้ อภิปรายในสภา ก็ตาม ใน รธน.ม. 124 วรรคสอง ระบุไว้ว่า
.
“เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งไม่คุ้มครองสมาชิกผู้กล่าวถ้อยคําในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทาง วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใด หากถ้อยคําที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกล่าวถ้อยคํานั้นมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้น”
.
สรุป ถ้าการประชุมนั้น มีการถ่ายทอด เสียง หรือ ภาพ ออกไปนอกห้องประชุม ผู้ที่ถูกพาดพิง เเล้วคิดว่าตนเองเสียหายสามารถฟ้องร้องผู้อภิปรายได้ ยกเว้น รมต. หรือ ส.ส. ในสภา
*
📢มาตรา 124
*
ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมวุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา สมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคำใดในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็นหรือออกเสียงลงคะแนน ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผู้ใดจะนำไปเป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวสมาชิกผู้นั้นในทางใด ๆ มิได้
*
เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งไม่คุ้มครองสมาชิกผู้กล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใด หากถ้อยคำที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกล่าวถ้อยคำนั้นมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้น
*
ในกรณีตามวรรคสอง ถ้าสมาชิกกล่าวถ้อยคำใดที่อาจเป็นเหตุให้บุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้นได้รับความเสียหาย ให้ประธานแห่งสภานั้นจัดให้มีการโฆษณาคำชี้แจงตามที่บุคคลนั้นร้องขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กำหนดในข้อบังคับการประชุมของสภานั้น ทั้งนี้ โดยไม่กระทบต่อสิทธิของบุคคลในการฟ้องคดีต่อศาล
*
เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ ย่อมคุ้มครองไปถึงผู้พิมพ์และผู้โฆษณารายงานการประชุมตามข้อบังคับของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แล้วแต่กรณี และคุ้มครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ตลอดจนผู้ดำเนินการถ่ายทอดการประชุมสภาทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใดซึ่งได้รับอนุญาตจากประธานแห่งสภานั้นด้วยโดยอนุโลม