เห็นตามโซนบ้านนอก ชนบท ตจว แถวบ้านเกิดผม
คนอายุ 30ปลายๆ-40ต้นๆ เริ่มกลายเป็นปู่ย่าตายายกันแล้วทั้งนั้น
ตายายของผม มีลูกคนแรกตอนอายุ 20
(สมัยนั้น แถวบ้านเรียกยายผมว่าเป็นสาวทึนทึก)
มีลูกด้วยกัน 4 คน
ลูกคนโตของตายาย มีลูกคนแรกตอนอายุ 23
นั่นหมายความว่า ตากับยายของผม เริ่มมีศักดิ์เป็นปู่ย่าตายาย ตั้งแต่อายุ 43
เข้าประเด็นเลย
เวลาพูดถึงว่า
เอาหลานฝากไว้ให้ปู่ย่าตายายเลี้ยงก่อน
(เอาลูกของตัวเองฝากให้พ่อแม่ดูแลแทนก่อน)
แต่ทำไมเราจะต้องนึกถึงภาพแต่คนแก่คนชราอายุ 65-70 ปี หลังค่อม ทำไร่ทำสวน เลี้ยงหลานตัวเล็กอยู่ข้างๆ
หรือ
ไม่ว่าจะสื่อต่างๆ ละคร โทรทัศน์
ตัวละครที่พ่อแม่สำมะเลเมา ทิ้งหลานไว้ให้ปู่ย่าตายายเลี้ยง
(ทิ้งลูกของตัวเองให้พ่อแม่ของตัวเองเลี้ยง)
ซึ่งตัวละครที่เป็นปู่ย่าตายายนั้น ก็จะเห็นคนอายุ 65-70 ทั้งนั้น
ซึ่งต่างจากสังคมความเป็นจริงมากๆ
เพราะแถวบ้านผมหลายคนเริ่มกลายปู่ย่าตายาย
อายุ40กว่าๆกันทั้งนั้น และยังมีแรงทำงานกันตามปกติ
คนแถวบ้านเกิดผมนี่ ถึงจะแต่งงานมีลูกกันเร็ว
ในช่วงอายุ20ต้นๆ แต่พอคลอดลูกคนที่สองแล้ว ส่วนใหญ่จะปิดอู่ทำหมันกันแทบทั้งนั้น
จึงไม่แปลกว่าทำไม ค่าเฉลี่ยผู้หญิงไทยมีลูกช่วงอายุ20ต้นๆถึงสูง แต่สถิติลำดับการคลอดบุตรคนที่ 3 4 5 กลับต่ำและลดลงเรื่อยๆมาโดยตลอด
ตอนป.1 จำได้ว่า
เพื่อนผมคนนึง อยู่กับตายาย พ่อแม่ทำงานต่างถิ่น คอยส่งเงินมาให้ และมาเยี่ยมอยู่บ่อยๆ
ผมไปเที่ยวเล่นบ้านเพื่อนบ่อย ตอนนั้นตายายของเพื่อนยังอายุแค่ 40กลางๆเอง
เท่าที่ผมสืบครอบครัวของเพื่อนมา
ตายายมีลูกคนแรกตั้งแต่อายุ 17-18
พ่อแม่มีเพื่อนผม(ลูกคนแรก)ตั้งแต่ 20-21
ปัจจุบันนี้เพื่อนผมอายุ 21จะ22 แล้ว เรียนจบ ปวส.ช่างไฟ ตอนนี้ยังไม่มีลูกนะ
จะว่าไป กลุ่มคนที่มีลูกเร็วก็ไม่ได้จะเป็นคนยากจนเสมอไปด้วย
เพราะแถวบ้านผม บ้านแต่ละหลังมีไฟฟ้าน้ำปะปาใช้ มีที่นาที่ไร่ มีบ้านครึ่งไม้ครึ่งปูน2ชั้น มีกระบะมีมอไซค์ขับ ส่งเสียลูกหลานเรียนกันได้ตามปกติเลย
ผมก็เลยเกิดความสงสัยว่า
ทำไมเวลาพูดถึงคำว่า "ปู่ย่าตายาย" จะต้องนึกถึงแต่คนอายุ 65-70+
ทำไมเวลาพูดถึงคำว่า "ปู่ย่าตายาย" จะต้องนึกถึงแต่คนอายุ 65-70+
คนอายุ 30ปลายๆ-40ต้นๆ เริ่มกลายเป็นปู่ย่าตายายกันแล้วทั้งนั้น
ตายายของผม มีลูกคนแรกตอนอายุ 20
(สมัยนั้น แถวบ้านเรียกยายผมว่าเป็นสาวทึนทึก)
มีลูกด้วยกัน 4 คน
ลูกคนโตของตายาย มีลูกคนแรกตอนอายุ 23
นั่นหมายความว่า ตากับยายของผม เริ่มมีศักดิ์เป็นปู่ย่าตายาย ตั้งแต่อายุ 43
เข้าประเด็นเลย
เวลาพูดถึงว่า
เอาหลานฝากไว้ให้ปู่ย่าตายายเลี้ยงก่อน
(เอาลูกของตัวเองฝากให้พ่อแม่ดูแลแทนก่อน)
แต่ทำไมเราจะต้องนึกถึงภาพแต่คนแก่คนชราอายุ 65-70 ปี หลังค่อม ทำไร่ทำสวน เลี้ยงหลานตัวเล็กอยู่ข้างๆ
หรือ
ไม่ว่าจะสื่อต่างๆ ละคร โทรทัศน์
ตัวละครที่พ่อแม่สำมะเลเมา ทิ้งหลานไว้ให้ปู่ย่าตายายเลี้ยง
(ทิ้งลูกของตัวเองให้พ่อแม่ของตัวเองเลี้ยง)
ซึ่งตัวละครที่เป็นปู่ย่าตายายนั้น ก็จะเห็นคนอายุ 65-70 ทั้งนั้น
ซึ่งต่างจากสังคมความเป็นจริงมากๆ
เพราะแถวบ้านผมหลายคนเริ่มกลายปู่ย่าตายาย
อายุ40กว่าๆกันทั้งนั้น และยังมีแรงทำงานกันตามปกติ
คนแถวบ้านเกิดผมนี่ ถึงจะแต่งงานมีลูกกันเร็ว
ในช่วงอายุ20ต้นๆ แต่พอคลอดลูกคนที่สองแล้ว ส่วนใหญ่จะปิดอู่ทำหมันกันแทบทั้งนั้น
จึงไม่แปลกว่าทำไม ค่าเฉลี่ยผู้หญิงไทยมีลูกช่วงอายุ20ต้นๆถึงสูง แต่สถิติลำดับการคลอดบุตรคนที่ 3 4 5 กลับต่ำและลดลงเรื่อยๆมาโดยตลอด
ตอนป.1 จำได้ว่า
เพื่อนผมคนนึง อยู่กับตายาย พ่อแม่ทำงานต่างถิ่น คอยส่งเงินมาให้ และมาเยี่ยมอยู่บ่อยๆ
ผมไปเที่ยวเล่นบ้านเพื่อนบ่อย ตอนนั้นตายายของเพื่อนยังอายุแค่ 40กลางๆเอง
เท่าที่ผมสืบครอบครัวของเพื่อนมา
ตายายมีลูกคนแรกตั้งแต่อายุ 17-18
พ่อแม่มีเพื่อนผม(ลูกคนแรก)ตั้งแต่ 20-21
ปัจจุบันนี้เพื่อนผมอายุ 21จะ22 แล้ว เรียนจบ ปวส.ช่างไฟ ตอนนี้ยังไม่มีลูกนะ
จะว่าไป กลุ่มคนที่มีลูกเร็วก็ไม่ได้จะเป็นคนยากจนเสมอไปด้วย
เพราะแถวบ้านผม บ้านแต่ละหลังมีไฟฟ้าน้ำปะปาใช้ มีที่นาที่ไร่ มีบ้านครึ่งไม้ครึ่งปูน2ชั้น มีกระบะมีมอไซค์ขับ ส่งเสียลูกหลานเรียนกันได้ตามปกติเลย
ผมก็เลยเกิดความสงสัยว่า
ทำไมเวลาพูดถึงคำว่า "ปู่ย่าตายาย" จะต้องนึกถึงแต่คนอายุ 65-70+