.
**********
https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=23&siri=229
๔. อุปาทานักขันธสูตร
ว่าด้วยอุปาทานขันธ์
[๖๖] ภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์๑- (ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น) ๕
ประการนี้
อุปาทานขันธ์ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. รูปูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือรูป)
๒. เวทนูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือเวทนา)
๓. สัญญูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือสัญญา)
๔. สังขารูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือสังขาร)
๕. วิญญาณูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ)
ภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้แล
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ
พึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ ประการนี้ เพื่อละอุปาทานขันธ์
๕ ประการนี้แล
ฯลฯ
อุปาทานักขันธสูตรที่ ๔ จบ
**********
----------
216]
ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์
(
กองแห่งรูปธรรมและนามธรรม 5 หมวด ที่ประชุมกันเข้าเป็นหน่วยรวม
ซึ่งบัญญัติเรียกว่า สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา เป็นต้น,
ส่วนประกอบ 5 อย่างที่รวมเข้าเป็นชีวิต
— the Five Groups of Existence; Five Aggregates)
1.
รูปขันธ์ (กองรูป, ส่วนที่เป็นรูป,
ร่างกาย
พฤติกรรม และคุณสมบัติต่างๆ ของส่วนที่เป็น
ร่างกาย,
ส่วนประกอบฝ่ายรูปธรรมทั้งหมด, สิ่งที่เป็นร่างพร้อมทั้งคุณและอาการ
— corporeality)
2.
เวทนาขันธ์ (กองเวทนา, ส่วนที่เป็นการเสวยอารมณ์,
ความรู้สึกสุข ทุกข์ หรือเฉยๆ
— feeling; sensation)
3.
สัญญาขันธ์ (กองสัญญา, ส่วนที่เป็นความกำหนดหมาย, ความกำหนดได้
หมายรู้ในอารมณ์ 6 เช่นว่า ขาว เขียว ดำ แดง เป็นต้น
— perception)
4.
สังขารขันธ์ (กองสังขาร, ส่วนที่เป็นความปรุงแต่ง, สภาพที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่วหรือเป็นกลางๆ,
คุณสมบัติต่างๆ ของจิต มีเจตนาเป็นตัวนำ ที่ปรุงแต่งคุณภาพของจิต ให้เป็นกุศล อกุศล อัพยากฤต
— mental formations; volitional activities)
5.
วิญญาณขันธ์ (กองวิญญาณ,
ส่วนที่เป็นความรู้แจ้งอารมณ์,
ความรู้อารมณ์ทางอายตนะทั้ง 6 มีการเห็น
กาได้ยิน เป็นต้น
ได้แก่ วิญญาณ 6
— consciousness)
ขันธ์ 5 นี้ ย่อลงมาเป็น 2 คือ นาม และ รูป;
รูปขันธ์จัดเป็นรูป,
4 ขันธ์ นอกนั้นเป็นนาม.
อีกอย่างหนึ่ง จัดเข้าในปรมัตถธรรม 4 :
วิญญาณขันธ์เป็น จิต,
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์
เป็น
เจตสิก,
รูปขันธ์ เป็น รูป,
ส่วน นิพพาน เป็นขันธวินิมุต คือ พ้นจากขันธ์ 5
...
https://84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=%A2%D1%B9%B8%EC_5
-----
แสดงผลการค้น ลำดับที่ 7 / 11
เวทนา ความเสวยอารมณ์, ความรู้สึก, ความรู้สึกสุขทุกข์ มี ๓ อย่าง คือ
๑. สุขเวทนา ความรู้สึกสุขสบาย
๒. ทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่สบาย
๓. อทุกขมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุข ไม่ทุกข์ คือ เฉยๆ เรียกอีกอย่างว่า อุเบกขาเวทนา;
อีกหมวดหนึ่งจัดเป็น เวทนา ๕ คือ
๑. สุข สบาย
กาย
๒. ทุกข์ ไม่สบาย
กาย
๓.
โสมนัส สบาย
ใจ
๔.
โทมนัส ไม่สบาย
ใจ
๕. อุเบกขา เฉยๆ;
ในภาษาไทย ใช้หมายความว่าเจ็บปวดบ้าง สงสารบ้าง ก็มี
https://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%E0%C7%B7%B9%D2
-----
.
---5สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่ง ความยึดมั่นคือร่างกาย,ความรู้สึกสุขทุกข์,ความจำ,ความคิด,ความรับรู้llควรเจริญสติปัฏฐานเพื่อละ
**********
https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=23&siri=229
๔. อุปาทานักขันธสูตร
ว่าด้วยอุปาทานขันธ์
[๖๖] ภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์๑- (ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น) ๕
ประการนี้
อุปาทานขันธ์ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. รูปูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือรูป)
๒. เวทนูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือเวทนา)
๓. สัญญูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือสัญญา)
๔. สังขารูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือสังขาร)
๕. วิญญาณูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ)
ภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้แล
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ ประการนี้ เพื่อละอุปาทานขันธ์
๕ ประการนี้แล
ฯลฯ
อุปาทานักขันธสูตรที่ ๔ จบ
**********
----------
216] ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์
(กองแห่งรูปธรรมและนามธรรม 5 หมวด ที่ประชุมกันเข้าเป็นหน่วยรวม
ซึ่งบัญญัติเรียกว่า สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา เป็นต้น,
ส่วนประกอบ 5 อย่างที่รวมเข้าเป็นชีวิต
— the Five Groups of Existence; Five Aggregates)
1. รูปขันธ์ (กองรูป, ส่วนที่เป็นรูป,
ร่างกาย
พฤติกรรม และคุณสมบัติต่างๆ ของส่วนที่เป็นร่างกาย,
ส่วนประกอบฝ่ายรูปธรรมทั้งหมด, สิ่งที่เป็นร่างพร้อมทั้งคุณและอาการ
— corporeality)
2. เวทนาขันธ์ (กองเวทนา, ส่วนที่เป็นการเสวยอารมณ์, ความรู้สึกสุข ทุกข์ หรือเฉยๆ
— feeling; sensation)
3. สัญญาขันธ์ (กองสัญญา, ส่วนที่เป็นความกำหนดหมาย, ความกำหนดได้หมายรู้ในอารมณ์ 6 เช่นว่า ขาว เขียว ดำ แดง เป็นต้น
— perception)
4. สังขารขันธ์ (กองสังขาร, ส่วนที่เป็นความปรุงแต่ง, สภาพที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่วหรือเป็นกลางๆ,
คุณสมบัติต่างๆ ของจิต มีเจตนาเป็นตัวนำ ที่ปรุงแต่งคุณภาพของจิต ให้เป็นกุศล อกุศล อัพยากฤต
— mental formations; volitional activities)
5. วิญญาณขันธ์ (กองวิญญาณ,
ส่วนที่เป็นความรู้แจ้งอารมณ์,
ความรู้อารมณ์ทางอายตนะทั้ง 6 มีการเห็น
กาได้ยิน เป็นต้น
ได้แก่ วิญญาณ 6
— consciousness)
ขันธ์ 5 นี้ ย่อลงมาเป็น 2 คือ นาม และ รูป;
รูปขันธ์จัดเป็นรูป,
4 ขันธ์ นอกนั้นเป็นนาม.
อีกอย่างหนึ่ง จัดเข้าในปรมัตถธรรม 4 :
วิญญาณขันธ์เป็น จิต,
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์
เป็น เจตสิก,
รูปขันธ์ เป็น รูป,
ส่วน นิพพาน เป็นขันธวินิมุต คือ พ้นจากขันธ์ 5
...
https://84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=%A2%D1%B9%B8%EC_5
-----
แสดงผลการค้น ลำดับที่ 7 / 11
เวทนา ความเสวยอารมณ์, ความรู้สึก, ความรู้สึกสุขทุกข์ มี ๓ อย่าง คือ
๑. สุขเวทนา ความรู้สึกสุขสบาย
๒. ทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่สบาย
๓. อทุกขมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุข ไม่ทุกข์ คือ เฉยๆ เรียกอีกอย่างว่า อุเบกขาเวทนา;
อีกหมวดหนึ่งจัดเป็น เวทนา ๕ คือ
๑. สุข สบายกาย
๒. ทุกข์ ไม่สบายกาย
๓. โสมนัส สบายใจ
๔. โทมนัส ไม่สบายใจ
๕. อุเบกขา เฉยๆ;
ในภาษาไทย ใช้หมายความว่าเจ็บปวดบ้าง สงสารบ้าง ก็มี
https://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%E0%C7%B7%B9%D2
-----
.