เวลาไปฟังพระสวดพระอภิธรรมในงานศพ เคยสงสัยในความหมายกันไหม
กุศลาธรรมมา อกุศลาธรรมมา อัพยากตาธรรมมา น่าจะเป็นคำที่คุ้นหูพวกเราชาวไทยพุทธ
ตอนนี้วิชชาผมแก่กล้าขึ้น จึงขอเสนอคำแปล พระสังคิณีมาให้ท่านที่สนใจได้พิจารณาดู
หมายเหตุ
ตัวหนา คือพระบาลี
ตัวเอียง คือคำแปลที่มีอยู่ในอินเตอร์เน็ต
ตัวขีดเส้นใต้ คือส่วนที่ผมแปล
โดยฐานความรู้มาจากการศึกษาผลงานของท่านพุทธทาสภิกขุ ที่เอามาใช้ เช่น
- เรื่อง อายตนภายใน อายตนภายนอก
- อารมณ์ คือสิ่งที่จิตถือเอา
- ปะฏิจจะสะมุปปันนา เป็นส่วนของอิทัปปัจยตา ที่อธิบายสาเหตุแห่งทุกข์ของมนุษย์
- ความรู้ใหม่ที่ได้จากคำแปลเดิมคือ กามาวจรจิต จิตที่ถูกปรุงแต่งอยู่ด้วย รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์
Let Go
พระสังคิณี
กุสะลา ธัมมา, พระธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข กุศลนำสุขมาให้
อะกุสะลา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล, ให้ผลเป็นความทุกข์, อกุศลนำทุกข์มาให้
อัพ๎ยากะตา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต, เป็นจิตกลาง ๆ อยู่, อัพยากะตา ไม่สามารถบอกได้ว่าสุขหรือทุกข์
กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่าใดเป็นกุศล เน้นที่กุศล ว่าเป็นอย่างไร
ยัส๎ะมิง สะมะเย, ในสมัยใด, ในขณะหนึ่ง
กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง, กามาวจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส, คือความยินดี, ประกอบด้วยญาน คือ ปัญญาเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใด ๆ,
มีสติ ปัญญา รู้ทันอารมณ์ต่างๆ ที่ปรุงแต่งจิต (กามาวจรกุศลจิต)อย่างโสมนัส ไม่ว่าจะเป็น
รูปารัมมะนัง วา, จะเป็นรูปารมณ์, คือยินดีในรูปเป็นอารมณ์ก็ดี, รูป
สัททารัมมะนัง วา, จะเป็นสัททารมณ์, คือยินดีในเสียงเป็นอารมณ์ก็ดี, เสียง
คันธารัมมะนัง วา, จะเป็นคันธารมณ์, คือยินดีในกลิ่นเป็นอารมณ์ก็ดี, กลิ่น
ระสารัมมะนัง วา, จะเป็นรสารมณ์, คือยินดีในรสเป็นอารมณ์ก็ดี, รส
โผฏฐัพพารัมมะนัง วา, จะเป็นโผฏฐัพพารมณ์, คือยินดีในสิ่งที่กระทบถูกต้องกายเป็นอารมณ์ก็ดี, สัมผัสทางผิวกาย
ธัมมารัมมะนัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, จะเป็นธรรมารมณ์, คือยินดีในธรรมเป็นอารมณ์ก็ดี ธรรมารมณ์ที่ปรากฎอยู่ในใจ
ตัส๎ะมิง สะมะเย ผัสโส โหติ, อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัส๎ะมิง สะมะเย, อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา, ในสมัยนั้นผัสสะและความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมี, อีกอย่างหนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด, แม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูป, อาศัยกันและกันเกิดขึ้น,
ขณะนั้นไม่ฟุ้งซ่านไปไปตามอารมณ์ เห็นเป็นแต่เพียงกระแสปฎิจสมุปบาท
อิเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข นี้เรียกว่าจิตเป็นกุศล
มาดูผมแปล พระสังคิณี
กุศลาธรรมมา อกุศลาธรรมมา อัพยากตาธรรมมา น่าจะเป็นคำที่คุ้นหูพวกเราชาวไทยพุทธ
ตอนนี้วิชชาผมแก่กล้าขึ้น จึงขอเสนอคำแปล พระสังคิณีมาให้ท่านที่สนใจได้พิจารณาดู
หมายเหตุ
ตัวหนา คือพระบาลี
ตัวเอียง คือคำแปลที่มีอยู่ในอินเตอร์เน็ต
ตัวขีดเส้นใต้ คือส่วนที่ผมแปล
โดยฐานความรู้มาจากการศึกษาผลงานของท่านพุทธทาสภิกขุ ที่เอามาใช้ เช่น
- เรื่อง อายตนภายใน อายตนภายนอก
- อารมณ์ คือสิ่งที่จิตถือเอา
- ปะฏิจจะสะมุปปันนา เป็นส่วนของอิทัปปัจยตา ที่อธิบายสาเหตุแห่งทุกข์ของมนุษย์
- ความรู้ใหม่ที่ได้จากคำแปลเดิมคือ กามาวจรจิต จิตที่ถูกปรุงแต่งอยู่ด้วย รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์
Let Go
พระสังคิณี
กุสะลา ธัมมา, พระธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข กุศลนำสุขมาให้
อะกุสะลา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล, ให้ผลเป็นความทุกข์, อกุศลนำทุกข์มาให้
อัพ๎ยากะตา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต, เป็นจิตกลาง ๆ อยู่, อัพยากะตา ไม่สามารถบอกได้ว่าสุขหรือทุกข์
กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่าใดเป็นกุศล เน้นที่กุศล ว่าเป็นอย่างไร
ยัส๎ะมิง สะมะเย, ในสมัยใด, ในขณะหนึ่ง
กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง, กามาวจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส, คือความยินดี, ประกอบด้วยญาน คือ ปัญญาเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใด ๆ,
มีสติ ปัญญา รู้ทันอารมณ์ต่างๆ ที่ปรุงแต่งจิต (กามาวจรกุศลจิต)อย่างโสมนัส ไม่ว่าจะเป็น
รูปารัมมะนัง วา, จะเป็นรูปารมณ์, คือยินดีในรูปเป็นอารมณ์ก็ดี, รูป
สัททารัมมะนัง วา, จะเป็นสัททารมณ์, คือยินดีในเสียงเป็นอารมณ์ก็ดี, เสียง
คันธารัมมะนัง วา, จะเป็นคันธารมณ์, คือยินดีในกลิ่นเป็นอารมณ์ก็ดี, กลิ่น
ระสารัมมะนัง วา, จะเป็นรสารมณ์, คือยินดีในรสเป็นอารมณ์ก็ดี, รส
โผฏฐัพพารัมมะนัง วา, จะเป็นโผฏฐัพพารมณ์, คือยินดีในสิ่งที่กระทบถูกต้องกายเป็นอารมณ์ก็ดี, สัมผัสทางผิวกาย
ธัมมารัมมะนัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, จะเป็นธรรมารมณ์, คือยินดีในธรรมเป็นอารมณ์ก็ดี ธรรมารมณ์ที่ปรากฎอยู่ในใจ
ตัส๎ะมิง สะมะเย ผัสโส โหติ, อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัส๎ะมิง สะมะเย, อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา, ในสมัยนั้นผัสสะและความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมี, อีกอย่างหนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด, แม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูป, อาศัยกันและกันเกิดขึ้น,
ขณะนั้นไม่ฟุ้งซ่านไปไปตามอารมณ์ เห็นเป็นแต่เพียงกระแสปฎิจสมุปบาท
อิเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข นี้เรียกว่าจิตเป็นกุศล