บุรุษผู้มีหน้าที่ ประกอบพิธีบูชาจันทรา แทนพสกนิกร...............
.
ในบ้านเรา หนังสือจีนในตลาดที่ว่าด้วยวัฒนธรรมจีน มักจะมีความเกี่ยวกับการไหว้พระจันทร์ตรงกันว่า
.
บุรุษไม่ไหว้พระจันทร์ ( 男不拜月 )
.
ผมเคยใช้คำ 男不拜月 สืบค้นบนอินเตอร์เน็ตก็พบเรื่องที่น่าแปลกใจว่า มีผู้ตั้งขอสงสัยเกี่ยวกับ ไว้มากมายว่า
“ ทำไมถึงห้ามมิให้ผู้ชายไหว้พระจันทร์ ”
ซึ่งคำตอบที่ได้ก็คลุมเครือ ไม่แจ้งชัด....
แล้วผมไปพบคำตอบที่น่าสนใจบนไป่ตู๋ ที่
https://baike.baidu.com/item/男不拜月/1607570?fbclid=IwAR0LT6QAhbcbBEI5uBtgGK_0Q_Multy-m6kQyuM-yOu9Lj2dq8H5NKiNN4s
ท่านว่า ความเชื่อเรื่องบุรุษไม่ไหว้จันทร์ เพิ่งจะปรากฏมีในหนังสือชื่อ 《燕京岁时记》โดย 察敦崇 ที่พิมพ์ในปี “ 1961 ”
โดยสำนักพืมพ์ 北京出版社出版的图书
หรือคำดังกล่าวเป็นความเห็นจากการศึกษา ของผู้เขียน ในสมัยใกล้ๆนี้เอง ผู้เขียนให้เหตุผลว่า
.
俗谓月亮属于太阳,
月神嫦娥是女性。
所以只能由妇女(包括女孩)拜月。
.
ความสรุปว่า ดวงจันทร์ เป็นเพียง ดาวในอาณัติของ ดวงอาทิตย์
เทพฉางเอ๋อ ก็เป็นเพียงหญิง
จึงควรเป็นเพียงหน้าที่ของผู้หญิงในการเซ่นไหว้.......
.
คัดเล่ามา ก็เพียงแต่อยากบอกเล่าถึงกูรู ที่ชอบเน้นคำว่า “ ธรรมเนียมโบราณ ” ครับว่า
.
“ บุรุษไม่ไหว้จันทร์ ”
เป็นความเห็นที่เพิ่งเกิด และมีประวัติย้อนหลังไปไม่ไกล และยังเจือด้วยความรู้สึกเหยียดเพศ...
.
อ่านๆไป ก็ให้นึกสงสัยว่า แล้วอย่างนี้ เหล่ากูรูท่านจะไหว้แม่ ที่เป็นหญิงด้วยไหม..........
.
..........................................................................
.
ตรงข้ามกับความเห็น บุรุษไม่ไหว้พระจันทร์ ในตำราโบราณ 《管子·轻重己》ปรากฏความว่า
ในกลางฤดูสารท ที่ธัญญพืช ให้ผลสุกเก็บเกี่ยวได้
โอรสแห่งสวรรค์ จักต้องเดินทางไปตั้งมณฑลพิธีบูชาดวงจันทร์ห่างจากพระราชวังไปทางตะวันตก 138 ลี้
การนี้โอรสแห่งสวรรค์ และเหล่าข้าราชบริพาร จักต้องนุ่งห่มด้วย “ ชุดขาว ” ประดับหยกขาว
เพื่อกระทำการเซ่นไหว้ดวงจันทร์ แทนชนทั้งปวงในแผ่นดิน.....
คัมภัร์ 《礼记·祭法》เรียกมณฑลพิธีบูชาดวงจันทร์ว่า 夜明
คัมภีร์ 《史记·封禅书》ให้ใช้ แพะ เป็นเครื่องสังเวยจันทร์
...........................................................................
.
จักรพรรดิจีนจะเสด็จออกทำพิธีบูชาดวงจันทร์ ในวัน “ 秋分 ” ( ชิวเฟิน ) อันเป็นวันตามปฏิทินสุริยคติ ปีนี้ (2018) วันชิวเฟินจะตรงกับวันที่ 23 กันยายน
มณฑลพิธีบูชาจันทร์ ( 月壇 ) ของกรุงปักกิ่ง สร้างแต่รัชสมัยเจียชิ่ง ในราชวงศ์หมิง ปัจจุบันถูกใช้เป็นสวนสาธารณะ
จักรพรรดิจีน ทั้งในราชวงศ์หมิง และชิง จะเสด็จมาประกอบพระราชพิธีเซ่นไหว้ดวงจันทร์ ในตอนคำของวันชิวเฟิน เวลา 21 นาฬิกา ทุกปี
วันตงชิวหรือจงชิว ( 中秋 ) จะเป็นวันฉลองฤดูสารท ทั้งเป็นวันไหว้พระจันทร์ของชาวบ้านทั่วไป จะอิงกับปฏิทินจันทรคติ ในวันเพ็ญเดือน 8
............................................................................
คนจีนโบราณ ไม่ได้ไหว้ นางฉางเอ๋อบนดวงจันทร์ ตามนิยายนะกูรู
- คนโบราณไหว้พระจันทร์ เพื่อเป็นการขอบคุณที่พระจันทร์เป็นหมายสังเกต เวลาที่จะ หว่าน ไถ หรือเพาะปลูก
อันจะทำให้พืชผลได้เจริญเติบโต ต้องกับลมฟ้าอากาศ และให้ได้ผลผลิตสูงที่สุด
- ประเพณีไหว้พระจันทร์ เป็นประเพณีเกี่ยวกับการไหว้อำนาจเหนือธรรมชาติ เพื่อหวังจะพึ่งพา ซึ่งมีมาก่อนที่มองโกลจะเข้ายึดครองแผ่นดินจีน
- ช่วงเพ็ญเดือน แปด เป็นการไหว้เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว ชาวบ้านโบราณนำผลผลิตที่ได้ จากการเพาะปลูก ไม่ว่าจะเป็นธัญญาพืช พืชหัว และพืชผล มาใช้ในการเซ่นไหว้
ชาวเมืองไม่ได้เพราะปลูกจึงใช้ขนมในการเซ่นไหว้
ในประเทศจีน ขนมไหว้พระจันทร์จึงมีลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น
และขนมไหว้พระจันทร์ที่นิยมในเมืองไทย เป็นขนมแบบของชาวจีนกวางตุ้ง....
.
คัดจาก
https://web.facebook.com/plu.danai/posts/2105874279662376.
.
.
.
กูรูเอ้ย.... หยุดคุยเสียทีว่า คนจีนโบราณ ชายไม่ไหว้พระจันทร์
.
บุรุษไม่ไหว้พระจันทร์ ( 男不拜月 )
.
ผมเคยใช้คำ 男不拜月 สืบค้นบนอินเตอร์เน็ตก็พบเรื่องที่น่าแปลกใจว่า มีผู้ตั้งขอสงสัยเกี่ยวกับ ไว้มากมายว่า
“ ทำไมถึงห้ามมิให้ผู้ชายไหว้พระจันทร์ ”
ซึ่งคำตอบที่ได้ก็คลุมเครือ ไม่แจ้งชัด....
แล้วผมไปพบคำตอบที่น่าสนใจบนไป่ตู๋ ที่
https://baike.baidu.com/item/男不拜月/1607570?fbclid=IwAR0LT6QAhbcbBEI5uBtgGK_0Q_Multy-m6kQyuM-yOu9Lj2dq8H5NKiNN4s
ท่านว่า ความเชื่อเรื่องบุรุษไม่ไหว้จันทร์ เพิ่งจะปรากฏมีในหนังสือชื่อ 《燕京岁时记》โดย 察敦崇 ที่พิมพ์ในปี “ 1961 ”
โดยสำนักพืมพ์ 北京出版社出版的图书
หรือคำดังกล่าวเป็นความเห็นจากการศึกษา ของผู้เขียน ในสมัยใกล้ๆนี้เอง ผู้เขียนให้เหตุผลว่า
.
俗谓月亮属于太阳,
月神嫦娥是女性。
所以只能由妇女(包括女孩)拜月。
.
ความสรุปว่า ดวงจันทร์ เป็นเพียง ดาวในอาณัติของ ดวงอาทิตย์
เทพฉางเอ๋อ ก็เป็นเพียงหญิง
จึงควรเป็นเพียงหน้าที่ของผู้หญิงในการเซ่นไหว้.......
.
คัดเล่ามา ก็เพียงแต่อยากบอกเล่าถึงกูรู ที่ชอบเน้นคำว่า “ ธรรมเนียมโบราณ ” ครับว่า
.
“ บุรุษไม่ไหว้จันทร์ ”
เป็นความเห็นที่เพิ่งเกิด และมีประวัติย้อนหลังไปไม่ไกล และยังเจือด้วยความรู้สึกเหยียดเพศ...
.
อ่านๆไป ก็ให้นึกสงสัยว่า แล้วอย่างนี้ เหล่ากูรูท่านจะไหว้แม่ ที่เป็นหญิงด้วยไหม..........
.
..........................................................................
.
ตรงข้ามกับความเห็น บุรุษไม่ไหว้พระจันทร์ ในตำราโบราณ 《管子·轻重己》ปรากฏความว่า
ในกลางฤดูสารท ที่ธัญญพืช ให้ผลสุกเก็บเกี่ยวได้
โอรสแห่งสวรรค์ จักต้องเดินทางไปตั้งมณฑลพิธีบูชาดวงจันทร์ห่างจากพระราชวังไปทางตะวันตก 138 ลี้
การนี้โอรสแห่งสวรรค์ และเหล่าข้าราชบริพาร จักต้องนุ่งห่มด้วย “ ชุดขาว ” ประดับหยกขาว
เพื่อกระทำการเซ่นไหว้ดวงจันทร์ แทนชนทั้งปวงในแผ่นดิน.....
คัมภัร์ 《礼记·祭法》เรียกมณฑลพิธีบูชาดวงจันทร์ว่า 夜明
คัมภีร์ 《史记·封禅书》ให้ใช้ แพะ เป็นเครื่องสังเวยจันทร์
...........................................................................
.
จักรพรรดิจีนจะเสด็จออกทำพิธีบูชาดวงจันทร์ ในวัน “ 秋分 ” ( ชิวเฟิน ) อันเป็นวันตามปฏิทินสุริยคติ ปีนี้ (2018) วันชิวเฟินจะตรงกับวันที่ 23 กันยายน
มณฑลพิธีบูชาจันทร์ ( 月壇 ) ของกรุงปักกิ่ง สร้างแต่รัชสมัยเจียชิ่ง ในราชวงศ์หมิง ปัจจุบันถูกใช้เป็นสวนสาธารณะ
จักรพรรดิจีน ทั้งในราชวงศ์หมิง และชิง จะเสด็จมาประกอบพระราชพิธีเซ่นไหว้ดวงจันทร์ ในตอนคำของวันชิวเฟิน เวลา 21 นาฬิกา ทุกปี
วันตงชิวหรือจงชิว ( 中秋 ) จะเป็นวันฉลองฤดูสารท ทั้งเป็นวันไหว้พระจันทร์ของชาวบ้านทั่วไป จะอิงกับปฏิทินจันทรคติ ในวันเพ็ญเดือน 8
............................................................................
คนจีนโบราณ ไม่ได้ไหว้ นางฉางเอ๋อบนดวงจันทร์ ตามนิยายนะกูรู
- คนโบราณไหว้พระจันทร์ เพื่อเป็นการขอบคุณที่พระจันทร์เป็นหมายสังเกต เวลาที่จะ หว่าน ไถ หรือเพาะปลูก
อันจะทำให้พืชผลได้เจริญเติบโต ต้องกับลมฟ้าอากาศ และให้ได้ผลผลิตสูงที่สุด
- ประเพณีไหว้พระจันทร์ เป็นประเพณีเกี่ยวกับการไหว้อำนาจเหนือธรรมชาติ เพื่อหวังจะพึ่งพา ซึ่งมีมาก่อนที่มองโกลจะเข้ายึดครองแผ่นดินจีน
- ช่วงเพ็ญเดือน แปด เป็นการไหว้เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว ชาวบ้านโบราณนำผลผลิตที่ได้ จากการเพาะปลูก ไม่ว่าจะเป็นธัญญาพืช พืชหัว และพืชผล มาใช้ในการเซ่นไหว้
ชาวเมืองไม่ได้เพราะปลูกจึงใช้ขนมในการเซ่นไหว้
ในประเทศจีน ขนมไหว้พระจันทร์จึงมีลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น
และขนมไหว้พระจันทร์ที่นิยมในเมืองไทย เป็นขนมแบบของชาวจีนกวางตุ้ง....
.
คัดจาก
https://web.facebook.com/plu.danai/posts/2105874279662376
.
.