☯︎
☯︎
MX3D inició la construcción del primer puente impreso en 3D en la ciudad de Ámsterdam
☯︎
☯︎
☯︎
MX3D Bridge Update October
☯︎
☯︎
ราชินี
Maxima ทำพิธีเปิดสะพาน
☯︎
☯︎
☯︎
สะพาน รากศัพท์จากภาษาเขมร ស្ពាន (สฺพาน)
ลักษณะนาม สะพาน หรือ แท่ง
สะพานเหล็กยาว 12 เมตร เปิดเมื่อสัปดาห์ที่แล้วใน Amsterdam
สะพานเหล็กที่นี่ไม่เหมือนกับสะพานเหล็กที่อื่น ๆ ทั่วโลก
เพราะสะพานแท่งนี้ไม่ได้หลอมในเตาหลอม
แต่ถูกพิมพ์ขึ้นมาด้วยเครื่องพิมพ์ 3 D
จัดว่าเป็นสะพานแรกสุดที่ถูกสร้างขึ้นโดยใช้เหล็กสแตนเลสที่พิมพ์ขึ้นมา
แล้วเชื่อมด้วยแขนหุ่นยนต์ที่โรงงานของบริษัทเทคโนโลยีดัตช์ชื่อ
MX3D
โดยร่วมมือกับบริษัทวิศวกรรม
Arup ที่อังกฤษ
ออกแบบโดยสตูดิโอชาวดัตช์
Joris Laarman Lab
โครงสร้างสะพานนี้มีน้ำหนัก 6 ตัน และต้องใช้เวลา 6 เดือนในการพิมพ์ 3 D โดยแขนหุ่นยนต์
ก่อนที่จะใช้ปั้นจั่นยกให้อยู่ในตำแหน่งเหนือ
Oudezijds Achterburgwal
คลองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองในย่านโคมแดง(ยามค่ำคืน) ของ Amsterdam
หน้าที่อื่น ๆ ที่นอกจากเป็นช่องทางจราจรในการข้ามคลอง
สะพานนี้ยังเป็นห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย
โดยมีเซ็นเซอร์ที่ซ่อนอยู่ซึ่งรวบรวมข้อมูลแบบ Realtime
เกี่ยวกับประสิทธิภาพของสะพาน ทุกครั้งที่มีคนเดิน วิ่ง ปั่นจักรยานบนสะพาน
เซ็นเซอร์จะรวบรวมข้อมูล ให้นักวิจัยที่ Imperial College London
จะใช้เพื่อตรวจสอบโครงสร้างและความทนถึกของสะพาน
เซ็นเซอร์จะวัดความเครียด การเคลื่อนที่ การสั่นสะเทือน คุณภาพอากาศและอุณหภูมิ
ข้อมูลนี้จะใช้เพื่อสร้าง The bridge's digital twin ในอนาคต
ซึ่งเป็น Version ใหม่ของระบบคอมพิวเตอร์
ซึ่งจะเลียนแบบ Physical bridge ซึ่งสามารถคาดการณ์ได้ว่า
โครงสร้างจะทำงานอย่างไรเมื่อมีการใช้สะพาน
ซึ่งจะช่วยในการคำนวณ/ประมาณการค่าต่าง ๆ
ค่าเผื่อเหลือเผื่อขาดการบำรุงรักษา/ใช้งานได้โดยเร็วที่สุด
และยังช่วยให้วิศวกรเข้าใจว่า เหล็กที่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ 3 D
อาจนำไปใช้สำหรับโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่
และซับซ้อนมากกว่าเดิมในอนาคตได้อย่างไร
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
“ โครงสร้างโลหะจากการพิมพ์ด้วย 3 D ที่ใหญ่และแข็งแรง
เพียงพอที่จะรองรับการสัญจรทางเท้า อย่างที่ไม่เคยมีใครสร้างมาก่อน
เราได้ทดสอบและจำลองโครงสร้างและส่วนประกอบต่าง ๆ
ตลอดจนกระบวนการพิมพ์ และเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว มันวิเศษมาก
ที่ในที่สุดก็เปิดให้ชาวบ้านเข้าชมและใช้งานได้
การพิมพ์ด้วย 3 D นำมาซึ่งโอกาสอันยิ่งใหญ่
ให้กับอุตสาหกรรมก่อสร้าง
ทำให้มีอิสระมากขึ้นในแง่ของ คุณสมบัติและรูปร่างของวัสดุ
เพราะการออกแบบที่ท้าทายอย่างมากมาย
และจะทำให้วิศวกรโครงสร้างต้องคิด/คำนวณในรูปแบบใหม่ ๆ
(ในอดีตสะพานเหล็กต้องใช้เวลามาก
ในการกลึง หล่อ ตัด เชื่อม พอก เจาะ ไข ขัน)
Leroy Gardner วิศวกรโครงสร้างที่ Imperial London College กล่าว
" ความสำเร็จของโครงการมีผลกระทบอย่างน่าตื่นเต้นสำหรับอนาคตของสถาปัตยกรรม
ถ้าคุณต้องการสะพานที่ตกแต่งอย่างสวยงาม หรือสะพานที่สวยงามจริง ๆ
จู่ ๆ มันก็กลายเป็นตัวเลือกที่ดีในการพิมพ์สะพานขึ้นมาเลย
เพราะมันไม่ใช่แค่การทำให้สิ่งต่าง ๆ ให้ถูกลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
แต่ยังเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือใหม่ให้แก่สถาปนิกและนักออกแบบ
ซึ่งเป็นเครื่องมือใหม่ที่ยอดเยี่ยมมาก ซึ่งทำให้สามารถคิดใหม่ ทำใหม่
เกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรมและการออกแบบของพวกเขา
(แต่ต้องให้วิศวกรคำนวณโครงสร้างเพื่อความปลอดภัยในการใช้งานด้วย) ”
Tim Geurtjens หัวหน้าเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีของ MX3D ให้สัมภาษณ์กับ
AP
แม้ว่าจะเป็นนวัตกรรมใหม่
แต่สะพานจะใช้ในพื้นที่นี้เพียง 2 ปี
โดยมาแทนที่สะพานเก่าแก่ที่ทอดข้ามคลอง
ที่นำไปซ่อมบำรุงและปรับปรุงใหม่
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/2WuVNvq
https://bit.ly/3kroEJ8
https://bit.ly/3sTTIVA
https://bit.ly/3mDcTSH
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
The bridge's digital twin
☯︎
☯︎
Initial bridge design © Joris Laarman Lab
☯︎
☯︎
☯︎
Initial bridge design © Joris Laarman Lab[
☯︎
☯︎
☯︎
Initial bridge design © Joris Laarman Lab
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
Oudezijds Achterburgwal ยามราตรี
☯︎
☯︎
☯︎
บ้านทางฝั่งตะวันออกของ Oudezijds Kolk เขต Zeedijk
สร้างผนังด้านหลังแถว Oudezijds Achterburgwal
☯︎
☯︎
☯︎
หงส์ในคลอง
☯︎
☯︎
☯︎
Walloon Church
☯︎
☯︎
เรือตกรถจักรยานใน Amsterdam
☯︎
☯︎
Fishing for bicycles in Amsterdsm canals
☯︎
☯︎
สะพานคอนกรีตใหญ่ที่สุดในโลก
สร้างด้วยเครื่องพิมพ์ 3 D
☯︎
☯︎
The world’s largest concrete 3D printed pedestrian bridge
☯︎
☯︎
☯︎
หมายเหตุ
เมืองไทยยังไม่ได้ออกกฎหมายยกเลิก
เครื่องพิมพ์ 3 D (มิติ) ให้นำเข้าได้โดยเสรี
เพราะพอจะทำเรื่องนี้ ก็เจอเรื่องโควิท 19 เลยยุติ
แต่เดิมอำมาตย์คิดมาก กลัวคนจะสร้างปืน
ด้วยการใช้เครื่องพิมพ์ 3 D จึงออกกฎหมายห้าม
ยิ่งเจอข่าวนี้ ยิ่งมีเหตุอันสมควรห้ามไว้อีก
ส่วนจะซื้อขายนำมาครอบครองได้ ถ้าไม่ทำตามกฎหมาย
เช่น วิทยุสื่อสาร Drone ปืน ที่มีกฎหมายควบคุม
แต่ถ้ามีปัญหา ก็คงแบบที่ชอบพูดกัน
ไม่เป็นไร โรงพักเรื่องผม (ผมคุยได้)
แต่คุกตะรางเรื่อง ม
xง (กูไม่เกี่ยว)
เพราะกฎหมายระบุว่า ตัองมีทะเบียน
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
สะพานเหล็กสร้างโดยเครื่องพิมพ์ 3 D (มิติ) แห่งแรกของโลก
☯︎
MX3D inició la construcción del primer puente impreso en 3D en la ciudad de Ámsterdam
☯︎
☯︎
☯︎
MX3D Bridge Update October
☯︎
☯︎
ราชินี Maxima ทำพิธีเปิดสะพาน
☯︎
☯︎
☯︎
สะพาน รากศัพท์จากภาษาเขมร ស្ពាន (สฺพาน)
ลักษณะนาม สะพาน หรือ แท่ง
สะพานเหล็กยาว 12 เมตร เปิดเมื่อสัปดาห์ที่แล้วใน Amsterdam
สะพานเหล็กที่นี่ไม่เหมือนกับสะพานเหล็กที่อื่น ๆ ทั่วโลก
เพราะสะพานแท่งนี้ไม่ได้หลอมในเตาหลอม
แต่ถูกพิมพ์ขึ้นมาด้วยเครื่องพิมพ์ 3 D
จัดว่าเป็นสะพานแรกสุดที่ถูกสร้างขึ้นโดยใช้เหล็กสแตนเลสที่พิมพ์ขึ้นมา
แล้วเชื่อมด้วยแขนหุ่นยนต์ที่โรงงานของบริษัทเทคโนโลยีดัตช์ชื่อ MX3D
โดยร่วมมือกับบริษัทวิศวกรรม Arup ที่อังกฤษ
ออกแบบโดยสตูดิโอชาวดัตช์ Joris Laarman Lab
โครงสร้างสะพานนี้มีน้ำหนัก 6 ตัน และต้องใช้เวลา 6 เดือนในการพิมพ์ 3 D โดยแขนหุ่นยนต์
ก่อนที่จะใช้ปั้นจั่นยกให้อยู่ในตำแหน่งเหนือ Oudezijds Achterburgwal
คลองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองในย่านโคมแดง(ยามค่ำคืน) ของ Amsterdam
หน้าที่อื่น ๆ ที่นอกจากเป็นช่องทางจราจรในการข้ามคลอง
สะพานนี้ยังเป็นห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย
โดยมีเซ็นเซอร์ที่ซ่อนอยู่ซึ่งรวบรวมข้อมูลแบบ Realtime
เกี่ยวกับประสิทธิภาพของสะพาน ทุกครั้งที่มีคนเดิน วิ่ง ปั่นจักรยานบนสะพาน
เซ็นเซอร์จะรวบรวมข้อมูล ให้นักวิจัยที่ Imperial College London
จะใช้เพื่อตรวจสอบโครงสร้างและความทนถึกของสะพาน
เซ็นเซอร์จะวัดความเครียด การเคลื่อนที่ การสั่นสะเทือน คุณภาพอากาศและอุณหภูมิ
ข้อมูลนี้จะใช้เพื่อสร้าง The bridge's digital twin ในอนาคต
ซึ่งเป็น Version ใหม่ของระบบคอมพิวเตอร์
ซึ่งจะเลียนแบบ Physical bridge ซึ่งสามารถคาดการณ์ได้ว่า
โครงสร้างจะทำงานอย่างไรเมื่อมีการใช้สะพาน
ซึ่งจะช่วยในการคำนวณ/ประมาณการค่าต่าง ๆ
ค่าเผื่อเหลือเผื่อขาดการบำรุงรักษา/ใช้งานได้โดยเร็วที่สุด
และยังช่วยให้วิศวกรเข้าใจว่า เหล็กที่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ 3 D
อาจนำไปใช้สำหรับโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่
และซับซ้อนมากกว่าเดิมในอนาคตได้อย่างไร
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
“ โครงสร้างโลหะจากการพิมพ์ด้วย 3 D ที่ใหญ่และแข็งแรง
เพียงพอที่จะรองรับการสัญจรทางเท้า อย่างที่ไม่เคยมีใครสร้างมาก่อน
เราได้ทดสอบและจำลองโครงสร้างและส่วนประกอบต่าง ๆ
ตลอดจนกระบวนการพิมพ์ และเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว มันวิเศษมาก
ที่ในที่สุดก็เปิดให้ชาวบ้านเข้าชมและใช้งานได้
การพิมพ์ด้วย 3 D นำมาซึ่งโอกาสอันยิ่งใหญ่
ให้กับอุตสาหกรรมก่อสร้าง
ทำให้มีอิสระมากขึ้นในแง่ของ คุณสมบัติและรูปร่างของวัสดุ
เพราะการออกแบบที่ท้าทายอย่างมากมาย
และจะทำให้วิศวกรโครงสร้างต้องคิด/คำนวณในรูปแบบใหม่ ๆ
(ในอดีตสะพานเหล็กต้องใช้เวลามาก
ในการกลึง หล่อ ตัด เชื่อม พอก เจาะ ไข ขัน)
Leroy Gardner วิศวกรโครงสร้างที่ Imperial London College กล่าว
" ความสำเร็จของโครงการมีผลกระทบอย่างน่าตื่นเต้นสำหรับอนาคตของสถาปัตยกรรม
ถ้าคุณต้องการสะพานที่ตกแต่งอย่างสวยงาม หรือสะพานที่สวยงามจริง ๆ
จู่ ๆ มันก็กลายเป็นตัวเลือกที่ดีในการพิมพ์สะพานขึ้นมาเลย
เพราะมันไม่ใช่แค่การทำให้สิ่งต่าง ๆ ให้ถูกลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
แต่ยังเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือใหม่ให้แก่สถาปนิกและนักออกแบบ
ซึ่งเป็นเครื่องมือใหม่ที่ยอดเยี่ยมมาก ซึ่งทำให้สามารถคิดใหม่ ทำใหม่
เกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรมและการออกแบบของพวกเขา
(แต่ต้องให้วิศวกรคำนวณโครงสร้างเพื่อความปลอดภัยในการใช้งานด้วย) ”
Tim Geurtjens หัวหน้าเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีของ MX3D ให้สัมภาษณ์กับ AP
แม้ว่าจะเป็นนวัตกรรมใหม่
แต่สะพานจะใช้ในพื้นที่นี้เพียง 2 ปี
โดยมาแทนที่สะพานเก่าแก่ที่ทอดข้ามคลอง
ที่นำไปซ่อมบำรุงและปรับปรุงใหม่
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/2WuVNvq
https://bit.ly/3kroEJ8
https://bit.ly/3sTTIVA
https://bit.ly/3mDcTSH
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
The bridge's digital twin
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
Initial bridge design © Joris Laarman Lab[
☯︎
☯︎
☯︎
Initial bridge design © Joris Laarman Lab
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
☯︎
Oudezijds Achterburgwal ยามราตรี
☯︎
☯︎
☯︎
บ้านทางฝั่งตะวันออกของ Oudezijds Kolk เขต Zeedijk
สร้างผนังด้านหลังแถว Oudezijds Achterburgwal
☯︎
☯︎
☯︎
หงส์ในคลอง
☯︎
☯︎
☯︎
Walloon Church
☯︎
☯︎
เรือตกรถจักรยานใน Amsterdam
☯︎
☯︎
Fishing for bicycles in Amsterdsm canals
☯︎
☯︎
สะพานคอนกรีตใหญ่ที่สุดในโลก
สร้างด้วยเครื่องพิมพ์ 3 D
☯︎
☯︎
The world’s largest concrete 3D printed pedestrian bridge
☯︎
☯︎
☯︎
หมายเหตุ
เมืองไทยยังไม่ได้ออกกฎหมายยกเลิก
เครื่องพิมพ์ 3 D (มิติ) ให้นำเข้าได้โดยเสรี
เพราะพอจะทำเรื่องนี้ ก็เจอเรื่องโควิท 19 เลยยุติ
แต่เดิมอำมาตย์คิดมาก กลัวคนจะสร้างปืน
ด้วยการใช้เครื่องพิมพ์ 3 D จึงออกกฎหมายห้าม
ยิ่งเจอข่าวนี้ ยิ่งมีเหตุอันสมควรห้ามไว้อีก
ส่วนจะซื้อขายนำมาครอบครองได้ ถ้าไม่ทำตามกฎหมาย
เช่น วิทยุสื่อสาร Drone ปืน ที่มีกฎหมายควบคุม
แต่ถ้ามีปัญหา ก็คงแบบที่ชอบพูดกัน
ไม่เป็นไร โรงพักเรื่องผม (ผมคุยได้)
แต่คุกตะรางเรื่อง มxง (กูไม่เกี่ยว)
เพราะกฎหมายระบุว่า ตัองมีทะเบียน
☯︎
☯︎
☯︎