คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 17
กระทรวงสาธารณสุข แถลงสถานการณ์โควิด-19 ประจำวันที่ 28 สิงหาคม 2564 เวลา 11.30 น.
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
วันที่ 28 สิงหาคม 2564
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม 2564
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/395199852098345
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 26 สิงหาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 29,504,769 โดส และทั่วโลกแล้ว 5,113 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 243.60 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 87.7%”
(27 สิงหาคม 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 5,113 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 38.4 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 366 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 172 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 243.60 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (76.6% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 94.55 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 29,504,769 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 56.28%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 5,113 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 29,504,769 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 22,070,573 โดส (33.3% ของประชากร)
-เข็มสอง 6,860,084 โดส (10.4% ของประชากร)
-เข็มสาม 574,112 โดส (0.9% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 27 ส.ค. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 29,504,769 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 669,189 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 526,586 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 10,012,580 โดส
- เข็มที่ 2 3,462,484 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 9,624,926 โดส
- เข็มที่ 2 2,442,442 โดส
- เข็มที่ 3 206,544 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 2,186,450 โดส
- เข็มที่ 2 917,166 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 246,617 โดส
- เข็มที่ 2 37,992 โดส
- เข็มที่ 3 367,568 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 122.9% เข็มที่2 107.2% เข็มที่3 80.6%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 54.9% เข็มที่2 34% เข็มที่3 0%
- อสม เข็มที่1 63.2% เข็มที่2 30.5% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 39.2% เข็มที่1 8.2% เข็มที่3 0%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 43.3% เข็มที่2 14% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 42.1% เข็มที่2 5.7% เข็มที่3 0%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 6.2% เข็มที่2 0.6% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 44.1% เข็มที่2 13.7% เข็มที่3 1.1%
5) จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 64.6% เข็มที่2 16% เข็มที่3 1.2% ประกอบด้วย
- กรุงเทพฯ เข็มที่1 87.7% เข็มที่2 21% เข็มที่3 1.7%
- สมุทรสาคร เข็มที่1 41.4% เข็มที่2 17.5% เข็มที่3 0.5%
- นนทบุรี เข็มที่1 41.3% เข็มที่2 14.8% เข็มที่3 0.7%
- สมุทรปราการ เข็มที่1 46.5% เข็มที่2 10.3% เข็มที่3 0.6%
- ปทุมธานี เข็มที่1 45.9% เข็มที่2 10.6% เข็มที่3 0.5%
- นครปฐม เข็มที่1 27.9% เข็มที่2 6.9% เข็มที่3 0.7%
จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 21.1% เข็มที่2 7.4% เข็มที่3 0.7%
- ชลบุรี เข็มที่1 37.7% เข็มที่2 13.1% เข็มที่3 1.0%
- พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 28.8% เข็มที่2 7.1% เข็มที่3 0.4%
- สงขลา เข็มที่1 30.2% เข็มที่2 9.3% เข็มที่3 1.2%
- ยะลา เข็มที่1 31.2% เข็มที่2 9.5% เข็มที่3 0.7%
- ปัตตานี เข็มที่1 24.2% เข็มที่2 7.2% เข็มที่3 0.5%
- ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 49.3% เข็มที่2 9.7% เข็มที่3 0.6%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 243,605,495 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 94,556,758 โดส (21.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. มาเลเซีย จำนวน 33,044,202 โดส (57.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 31,433,450 โดส (16.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 29,504,769 โดส (33.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. กัมพูชา จำนวน 18,946,033 โดส (60.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
6. เวียดนาม จำนวน 18,522,203 โดส (16.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
7. สิงคโปร์ จำนวน 8,768,985 โดส (76.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
8. พม่า จำนวน 4,542,363 โดส (5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
9. ลาว จำนวน 4,001,318 โดส (30.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 285,414 โดส (46.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 67.36%
2. อเมริกาเหนือ 10.71%
3. ยุโรป 12.87%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.72%
5. แอฟริกา 1.90%
6. โอเชียเนีย 0.44%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 1,988.43 ล้านโดส (71% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 603.85 ล้านโดส (22.1%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 365.77 ล้านโดส (57.2%)
4. บราซิล จำนวน 184.58 ล้านโดส (44.9%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 123.41 ล้านโดส (48.9%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (91% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (83.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. บาห์เรน (83.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
4. กาตาร์ (77.5%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
5. อุรุกวัย (77%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
6. สิงคโปร์ (76.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
7. ชิลี (73.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
8. เดนมาร์ก (73.2%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech และ J&J)
9. อิสราเอล (73%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
10. จีน (71%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac และ CanSino)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4100641056728102
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
วันที่ 28 สิงหาคม 2564
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม 2564
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/395199852098345
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 26 สิงหาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 29,504,769 โดส และทั่วโลกแล้ว 5,113 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 243.60 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 87.7%”
(27 สิงหาคม 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 5,113 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 38.4 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 366 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 172 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 243.60 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (76.6% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 94.55 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 29,504,769 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 56.28%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 5,113 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 29,504,769 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 22,070,573 โดส (33.3% ของประชากร)
-เข็มสอง 6,860,084 โดส (10.4% ของประชากร)
-เข็มสาม 574,112 โดส (0.9% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 27 ส.ค. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 29,504,769 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 669,189 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 526,586 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 10,012,580 โดส
- เข็มที่ 2 3,462,484 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 9,624,926 โดส
- เข็มที่ 2 2,442,442 โดส
- เข็มที่ 3 206,544 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 2,186,450 โดส
- เข็มที่ 2 917,166 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 246,617 โดส
- เข็มที่ 2 37,992 โดส
- เข็มที่ 3 367,568 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 122.9% เข็มที่2 107.2% เข็มที่3 80.6%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 54.9% เข็มที่2 34% เข็มที่3 0%
- อสม เข็มที่1 63.2% เข็มที่2 30.5% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 39.2% เข็มที่1 8.2% เข็มที่3 0%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 43.3% เข็มที่2 14% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 42.1% เข็มที่2 5.7% เข็มที่3 0%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 6.2% เข็มที่2 0.6% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 44.1% เข็มที่2 13.7% เข็มที่3 1.1%
5) จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 64.6% เข็มที่2 16% เข็มที่3 1.2% ประกอบด้วย
- กรุงเทพฯ เข็มที่1 87.7% เข็มที่2 21% เข็มที่3 1.7%
- สมุทรสาคร เข็มที่1 41.4% เข็มที่2 17.5% เข็มที่3 0.5%
- นนทบุรี เข็มที่1 41.3% เข็มที่2 14.8% เข็มที่3 0.7%
- สมุทรปราการ เข็มที่1 46.5% เข็มที่2 10.3% เข็มที่3 0.6%
- ปทุมธานี เข็มที่1 45.9% เข็มที่2 10.6% เข็มที่3 0.5%
- นครปฐม เข็มที่1 27.9% เข็มที่2 6.9% เข็มที่3 0.7%
จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 21.1% เข็มที่2 7.4% เข็มที่3 0.7%
- ชลบุรี เข็มที่1 37.7% เข็มที่2 13.1% เข็มที่3 1.0%
- พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 28.8% เข็มที่2 7.1% เข็มที่3 0.4%
- สงขลา เข็มที่1 30.2% เข็มที่2 9.3% เข็มที่3 1.2%
- ยะลา เข็มที่1 31.2% เข็มที่2 9.5% เข็มที่3 0.7%
- ปัตตานี เข็มที่1 24.2% เข็มที่2 7.2% เข็มที่3 0.5%
- ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 49.3% เข็มที่2 9.7% เข็มที่3 0.6%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 243,605,495 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 94,556,758 โดส (21.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. มาเลเซีย จำนวน 33,044,202 โดส (57.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 31,433,450 โดส (16.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 29,504,769 โดส (33.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. กัมพูชา จำนวน 18,946,033 โดส (60.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
6. เวียดนาม จำนวน 18,522,203 โดส (16.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
7. สิงคโปร์ จำนวน 8,768,985 โดส (76.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
8. พม่า จำนวน 4,542,363 โดส (5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
9. ลาว จำนวน 4,001,318 โดส (30.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 285,414 โดส (46.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 67.36%
2. อเมริกาเหนือ 10.71%
3. ยุโรป 12.87%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.72%
5. แอฟริกา 1.90%
6. โอเชียเนีย 0.44%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 1,988.43 ล้านโดส (71% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 603.85 ล้านโดส (22.1%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 365.77 ล้านโดส (57.2%)
4. บราซิล จำนวน 184.58 ล้านโดส (44.9%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 123.41 ล้านโดส (48.9%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (91% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (83.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. บาห์เรน (83.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
4. กาตาร์ (77.5%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
5. อุรุกวัย (77%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
6. สิงคโปร์ (76.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
7. ชิลี (73.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
8. เดนมาร์ก (73.2%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech และ J&J)
9. อิสราเอล (73%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
10. จีน (71%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac และ CanSino)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4100641056728102
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭มาลาริน💜28ส.ค.ป่วย17,984คน รักษาหาย 20,535 คน เสียชีวิต 292คน/ผู้ป่วยเล่นโจ๋งครึ่ม ในรพ.สนาม ผู้ว่าฯ รีบคุมเข้ม
28 ส.ค.64 - ศูนย์ข้อมูล COVID-19 รายงานสถานการณ์จำนวนผู้ติดเชื้อโรคไวรัสโควิด-19 ประจำวันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม 2564 พบผู้ติดเชื้อโควิดรายใหม่รวม 17,984 ราย จำแนกเป็น ติดเชื้อใหม่ 17,660 รายติดเชื้อภายในเรือนจำ/ที่ต้องขัง 324 ราย
ผู้ป่วยสะสม 1,128,692 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน) หายป่วยกลับบ้าน 20,535 ราย หายป่วยสะสม 936,893 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน) ผู้ป่วยกำลังรักษา 182,357 ราย เสียชีวิต 292 ราย
https://www.thaipost.net/main/detail/114800
41 จว.ติดเชื้อใหม่ยังเกินร้อย "กทม."หนัก 4,141ราย
"สมุทรปราการ" ยืน 4 หลัก "ชลฯ-สมุทรสาคร" ต่ำพัน"ภูเก็ต" พุ่ง
เมื่อวันที่ 28 ส.ค.64 ศูนย์ข้อมูลโควิด-19 ได้รายงานสถานการณ์การติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในประเทศไทย โดยข้อมูลวันที่ 28 ส.ค.64 เวลา 01.00 น. พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ในทั้ง 77 จังหวัดของไทย โดยพบผู้ป่วยติดเชื้อใหม่มากที่สุดที่กทม. 4,141 ราย ตามด้วยสมุทรปราการที่ยังสูงอยู่ในหลักพัน 1,432 ราย ชลบุรี และสมุทรสาคร ลดลงต่ำกว่าพัน จังหวัดที่พบผู้ติดเชื้อรายใหม่น้อยที่สุดคือ แม่ฮ่องสอน 1 ราย โดยพบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยใน 41 จังหวัด
สูงที่สุดคือ ภาคกลาง พบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยใน 14 จังหวัด ได้แก่ กทม. สมุทรปราการ สมุทรสาคร นนทบุรี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม ปทุมธานี อ่างทอง นครนายก เพชรบูรณ์ ลพบุรี สมุทรสงคราม และสุพรรณบุรี
ภาคใต้ พบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยใน 9 จังหวัดคือ นราธิวาส ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา ระนอง สุราษฎร์ธานี ชุมพร และปัตตานี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยใน 7 จังหวัดคือ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ชัยภูมิ และร้อยเอ็ด
ภาคตะวันตก พบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยใน 5 จังหวัดยกทั้งภาคคือ ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก ประจวบคีรีขันธ์ และเพชรบุรี
ภาคตะวันออก พบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยใน 6 จังหวัดได้แก่ ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา สระแก้ว ปราจีนบุรี และจันทบุรี
ขณะที่ภาคเหนือผู้ติดเชื้อรายใหม่ยังคงอยู่ในหลักสิบ สถานการณ์ยังเบาที่สุดเมื่อเทียบกับทุกภาค
https://siamrath.co.th/n/275547
https://www.thairath.co.th/news/local/2178995
27 ส.ค.64 - จากกรณีเจ้าหน้าที่ทหาร กอ.รมน.สมุทรปราการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และตำรวจ สภ.บางพลี ได้นำกำลังเข้าตรวจค้นอาวุธ ยาเสพติด และสิ่งผิดกฎหมายต่างๆ และจัดระเบียบความเรียบร้อยภายในโรงพยาบาลสนามสมุทรปราการรวมใจ 5 ซึ่งตั้งอยู่ในโครงการ WHA ริมถนนคลองส่งน้ำสุวรรณภูมิ ต.บางปลา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคมที่ผ่านมา
หลังจากรับแจ้งว่าผู้ป่วยโควิดที่รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลสนามแห่งนี้มีการมั่วสุมเล่นการพนัน เสพยาเสพติดและร่วมประเวณี ผลการตรวจค้นไม่พบสิ่งผิดกฎหมายหรืออาวุธแต่อย่างใด พบเพียงการฝ่าฝืนลักลอบนำบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าเข้าไปสูบในโรงพยาบาลสนามเท่านั้น ซึ่งสามารถตรวจยึดได้จำนวนหนึ่ง
ผู้สื่อข่าวรายงานความคืบหน้าล่าสุด เมื่อช่วงบ่ายวันนี้ นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ กล่าวว่า โรงพยาบาลสนามบางพลีที่ตกเป็นข่าว ทางโรงพยาบาลสนามได้ประชุมชี้แจงว่าอาจจะเกิดปัญหาลักษณะนี้ทั้งเรื่องลักเล็กขโมยน้อย มั่วสุมเล่นการพนัน และอาจเกี่ยวข้องกับเรื่องของยาเสพติด หรือร่วมประเวณี ดังนั้นโรงพยาบาลสนามได้ประชุมเพื่อทำความเข้าใจกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งตนให้ผู้ที่มีความรับผิดชอบโดยตรงทั้ง กอ.รมน.โรงพยาบาลสมุทรปราการ ซึ่งเป็นผู้กำกับดูแลโรงพยาบาลสนามดังกล่าวให้รายงานเข้ามา เพื่อรับทราบข้อเท็จจริงทั้งหมดเพื่อรายงานไปยังหน่วยเหนือ ในขณะเดียวกันก็ได้มีการกำชับในเรื่องของการรักษาความปลอดภัย รักษาความสงบเรียบร้อยในโรงพยาบาลสนาม อย่างเช่นเมื่อวานนี้ได้มี การประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจกันในการปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย ในโรงพยาบาลสนามอย่างเข้มข้นมากขึ้น
https://www.thaipost.net/main/detail/114766
วันนี้เป็นอีกวันนะคะ ที่หายป่วยมากกว่าติดเชื้อใหม่
คนป่วยที่รักษาในโรงพยาบาลลดลง ผ่อนคลายเจ้าหน้าที่ ที่ทำงานได้มากขึ้น
แต่ผู้เสียชีวิตยังสูงอยู่เพราะมีผู้ป่วยอาการหนักยังสูงเป็นพันคน
ต้องรีบเร่งให้วัคซีนคุ้มครองคนกลุ่มเสี่ยงค่ะ
ส่วนผู้ป่วยที่ไม่ค่อยมีจิตสำนึกให้ความร่วมมือคงต้องขอร้องกันนะคะ อย่าหาทำเพิ่มภาระแก่เจ้าหน้าที่
ประเทศไทยจะรอดโควิด เพราะทุกฝ่ายร่วมมือกัน