มีคำหนึ่งที่อ่านพบในอัลกุรอานบัญญัติที่ 5:3 และบัญญัติที่ 5:90 คือคำว่า النُّصُبِ และ الْأَنْصَابُ ซึ่งมาจากรากศัพท์ (ن ص ب) ในกระทู้นี้ จะไม่กล่าว ถึงความหมายอื่นๆที่ใช้ในบัญญัติต่างๆในอัลกุรอาน แต่จะให้ความสนใจแก่ความหมายที่มีอยู่ใน บัญญัติที่ 5:3 และบัญญัติที่ 5:90 เท่านั้น
ในบัญญัติที่ 3 ของซูเราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ "สิ่งต้องห้ามแก่พวกท่านคือ............." وَمَا ذُبِحَ عَلَى النُّصُبِ" และสิ่ง(เนื้อสัตว์)ที่ถูกสังหารบนแท่นหิน"
สิ่งต้องห้ามแก่พวกท่านคือ ....และสัตว์ที่ถูกเชือดบนแท่นหินบูชา, (and those which are sacrificed on stone altars,that which is
sacrificed on stone/altars)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ในบัญญัติที่ 90 ของซูเราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ คำว่า "أَنْصَابُ" ในวลี وَالْأَنْصَابُ และแท่นหินบูชายันต์, (dedication of) stones, idolatrous sacrifices at altars)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
จากบัญญัติที่ 5:3 และ 5:90 เมื่อพิจารณาความหมายของคำว่า الْأَنْصَابُ อย่างใกล้ชิด ถึงสาเหตุที่อัลลอฮ์ ห้ามบริโภคเนื้อสัตว์จากแท่นบูชา และ ห้าม
เช้าใกล้ แท่นหิน ก็เพราะว่าเป็นสิ่งโสมมและเป็นตัวนำไปสู่ความชั่วร้าย หรือ เครื่องมือของชัยตอน โดยใช้คำศัพท์ "แท่นหิน" (الْأَنْصَابُ) ทั้งนี้ก็เพราะว่า
เนื้อสัตว์นั้นเป็นเนื้อสัตว์ที่ถูกฆ่าโดยการกล่าวนามของเจว็ด ต่างๆ ตามความศรัทธาของอรับผู้บูชาเจว็ด ความสำคัญในการห้ามเข้าใกล้แท่นหิน แท้จริงก็คือ
การกินเนื้อสัตว์ดังกล่าวเป็นการให้ความศรัทธาต่อเจว็ดนอกเหนือจากอัลลอฮ์ เป็นชิริก หรือ เป็นการสร้างภาคี
ความหมายของคำ الْأَنْصَابُ หมายถึง หิน หรือก้อนหินโดยเฉพาะหินที่ติดตั้งเป็นเจว็ดไว้รอบๆ กะอฺบะห์ (บัยตุลลอฮฺ) ซึ่งถือปฏิบัติเป็น
ประเพณี ในการเปล่งเสียงกล่าวนามของ เจว็ดหินชื่อต่างๆ ในขณะฆ่าสัตว์ เป็นเครื่องสังเวยแก่เจว็ดหินอื่นๆ และหินดำ (ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)"
ก็เป็นเจว็ดหินที่ติดตั้งไว้บนส่วนหนึ่งของกะอฺบะห์ เช่นเดียวกับเจว็ดหินอื่นๆ
คำ الْأَنْصَابُ นี้ยังมีความหมายถีง เจว็ด หรือ "หิน" ซึ่ง Arab Pagan หรือ อรับผู้บูชาเจว็ด ตั้งขึ้นเพื่อฆ่าสัตว์สังเวย ต่อหน้ามันหรือ กล่าวนามมัน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สุดท้ายนี้ใคร่ขอฝากข้อคิด สำหรับมุสลิมทุกๆคน ตลอดทั้งนักวิชาการผู้สอนศาสนาอิสลามทุกๆท่าน รวมทั้งนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญทางภาษาอรับ
ช่วยหาหลักฐานว่า "หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" ไม่ใช่เจว็ดของมุชริกอรับมาก่อน
จากหลักฐานทางอัลกุรอาน "เจว็ดหิน" หินต่างๆที่ติดตั้งอยู่รอบๆกะอฺบะห์เป็นสิ่งโสมมและเป็นครื่องมือของชัยตอน เพราะว่า "หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)"
นี้เคยติดตั้งอยู่ใน กะอฺบะห์ มาก่อนอิสลาม และที่ทราบแน่ๆคือท่านมูฮัมมัดเป็นผู้ที่ช่วยมุชริกอรับติดตั้ง"หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" ไว้ที่กะอฺบะห์ก่อนที่ท่าน
จะเป็นรอซูลหรือก่อนที่ท่านจะได้รับอัลกุรอาน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)"
การที่มุสลิมในปัจจุบันคลั่งไคล้ แย่งกัน สัมผัสและจูบ"หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" เมื่อไปประกอบพิธีฮัจจํ
มุสลิมผู้ที่มีความศรัทธาในเรื่องราวของ"หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" อธิบายว่า:
"เพื่อเป็นการให้เกียรติ และความนับถือว่าครั้งหนึ่งท่านศาสดามูฮัมมัดเคยจูบมัน" และท่านศาสดามูฮัมมัดเชื่อว่าหินดำก้อนนี้
มาจากสวรรค์ มีสีขาวและบาปของมนุษย์ทำให้กลายเป็นสีดำ และผู้ที่ได้สัมผัสและจูบ "หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" นี้แล้ว เขาจะได้รับการอภัยบาป,
แต่ถ้าผู้ใดไม่ให้ความสนใจที่จะสัมผัสหรือจูบ มัน, "หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" นี้ ก็จะถูกชุบขึ้นมาในวันตัดสิน
และจะเป็นพยาน/ฟ้อง ต่ออัลลอฮ์ ที่มันไม่ได้รับความสนใจจากมุสลิมผู้นั้นอย่างจริงใจ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้จากเนื้อหาของฮาดีษทั้ง 4 บทข้างบนนี้ พอจะสรุปได้ว่า"หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถ เป็นทางนำถึงอัลลอฮ์ได้ وسيلة ซึ่งการใช้หินดำนี้เป็นทางนำไปสู่อัลลอฮ์นั้นเป็นการสร้างภาคี "ชิริก" ดังนั้นมุสลิมที่เชื่อฮาดีษที่เกี่ยวกับ"หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" ข้างบนนี้
จึงมีการเสี่ยง ต่อการสร้างภาคีมากทีเดียว การใช้วัตถุหรือมนุษย์เป็นสื่อเพื่อหาทางเข้าใกล้ถึงพระเจ้า หรือที่เรียกว่า وسيلة- وسل สะลาฟีย์(สลัฟ) ถือว่าเป็นบิดะอะห์ซึ่งเป็น ชิริกเช่นกัน
เจว็ด "หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" เป็นสิ่งโสมมอันเกิดจากการกระทำของชัยฏอน จงห่างไกลจากมันเสียเถิด.........( )
ในบัญญัติที่ 3 ของซูเราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ "สิ่งต้องห้ามแก่พวกท่านคือ............." وَمَا ذُبِحَ عَلَى النُّصُبِ" และสิ่ง(เนื้อสัตว์)ที่ถูกสังหารบนแท่นหิน"
สิ่งต้องห้ามแก่พวกท่านคือ ....และสัตว์ที่ถูกเชือดบนแท่นหินบูชา, (and those which are sacrificed on stone altars,that which is
sacrificed on stone/altars)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ในบัญญัติที่ 90 ของซูเราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ คำว่า "أَنْصَابُ" ในวลี وَالْأَنْصَابُ และแท่นหินบูชายันต์, (dedication of) stones, idolatrous sacrifices at altars)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
จากบัญญัติที่ 5:3 และ 5:90 เมื่อพิจารณาความหมายของคำว่า الْأَنْصَابُ อย่างใกล้ชิด ถึงสาเหตุที่อัลลอฮ์ ห้ามบริโภคเนื้อสัตว์จากแท่นบูชา และ ห้าม
เช้าใกล้ แท่นหิน ก็เพราะว่าเป็นสิ่งโสมมและเป็นตัวนำไปสู่ความชั่วร้าย หรือ เครื่องมือของชัยตอน โดยใช้คำศัพท์ "แท่นหิน" (الْأَنْصَابُ) ทั้งนี้ก็เพราะว่า เนื้อสัตว์นั้นเป็นเนื้อสัตว์ที่ถูกฆ่าโดยการกล่าวนามของเจว็ด ต่างๆ ตามความศรัทธาของอรับผู้บูชาเจว็ด ความสำคัญในการห้ามเข้าใกล้แท่นหิน แท้จริงก็คือการกินเนื้อสัตว์ดังกล่าวเป็นการให้ความศรัทธาต่อเจว็ดนอกเหนือจากอัลลอฮ์ เป็นชิริก หรือ เป็นการสร้างภาคี
ความหมายของคำ الْأَنْصَابُ หมายถึง หิน หรือก้อนหินโดยเฉพาะหินที่ติดตั้งเป็นเจว็ดไว้รอบๆ กะอฺบะห์ (บัยตุลลอฮฺ) ซึ่งถือปฏิบัติเป็น
ประเพณี ในการเปล่งเสียงกล่าวนามของ เจว็ดหินชื่อต่างๆ ในขณะฆ่าสัตว์ เป็นเครื่องสังเวยแก่เจว็ดหินอื่นๆ และหินดำ (ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)"
ก็เป็นเจว็ดหินที่ติดตั้งไว้บนส่วนหนึ่งของกะอฺบะห์ เช่นเดียวกับเจว็ดหินอื่นๆ
คำ الْأَنْصَابُ นี้ยังมีความหมายถีง เจว็ด หรือ "หิน" ซึ่ง Arab Pagan หรือ อรับผู้บูชาเจว็ด ตั้งขึ้นเพื่อฆ่าสัตว์สังเวย ต่อหน้ามันหรือ กล่าวนามมัน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สุดท้ายนี้ใคร่ขอฝากข้อคิด สำหรับมุสลิมทุกๆคน ตลอดทั้งนักวิชาการผู้สอนศาสนาอิสลามทุกๆท่าน รวมทั้งนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญทางภาษาอรับ
ช่วยหาหลักฐานว่า "หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" ไม่ใช่เจว็ดของมุชริกอรับมาก่อน
จากหลักฐานทางอัลกุรอาน "เจว็ดหิน" หินต่างๆที่ติดตั้งอยู่รอบๆกะอฺบะห์เป็นสิ่งโสมมและเป็นครื่องมือของชัยตอน เพราะว่า "หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)"
นี้เคยติดตั้งอยู่ใน กะอฺบะห์ มาก่อนอิสลาม และที่ทราบแน่ๆคือท่านมูฮัมมัดเป็นผู้ที่ช่วยมุชริกอรับติดตั้ง"หินดำ(ٱلْحَجَرُ ٱلْأَسْوَد)" ไว้ที่กะอฺบะห์ก่อนที่ท่าน
จะเป็นรอซูลหรือก่อนที่ท่านจะได้รับอัลกุรอาน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้