อ่านแล้ว...งง
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๓๑
สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
หน้าที่ ๑๙ ข้อที่ ๖๖ - ๖๗
.....เมื่อพิจารณาเห็นรูปโดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ เมื่อ
พิจารณาเห็นเวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณ ... จักษุ ...ชราและมรณะ โดยความเป็น
ของไม่เที่ยงเป็นต้น ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ เมื่อพิจารณาเห็นนิพพานอันหยั่งลงสู่อมตะ [ด้วย
ความเป็นอนัตตา] ด้วยความว่าเป็นที่สุด ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ ธรรมใดๆ เป็นธรรมที่ละได้
แล้วธรรมนั้นๆ เป็นอันสละได้แล้ว ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะ
อรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือเครื่องรู้ชัด
ธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรละ ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ
อมตะ เป็นอนัตตา หมายความว่าอย่างไรครับ ?
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๓๑
สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
หน้าที่ ๑๙ ข้อที่ ๖๖ - ๖๗
.....เมื่อพิจารณาเห็นรูปโดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ เมื่อ
พิจารณาเห็นเวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณ ... จักษุ ...ชราและมรณะ โดยความเป็น
ของไม่เที่ยงเป็นต้น ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ เมื่อพิจารณาเห็นนิพพานอันหยั่งลงสู่อมตะ [ด้วย
ความเป็นอนัตตา] ด้วยความว่าเป็นที่สุด ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ ธรรมใดๆ เป็นธรรมที่ละได้
แล้วธรรมนั้นๆ เป็นอันสละได้แล้ว ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะ
อรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือเครื่องรู้ชัด
ธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรละ ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ