ซี7เอ1 (C7A1) เป็นที่ปรับปรุงมาจาก ซี7 รุ่นแรกโดยมีการปรับเปลี่ยนคือปรับเปลี่ยนระบบศูนย์เป็นแบบที่สามารถถอดได้เพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้คล้ายกับแบบปืนเล็กสั้น เอ็ม4 (M4 Carbine) แต่ว่าของ ซี7เอ1 นั้นจะเป็นระบบศูนย์แบบ เอ็ม16เอ1 แบบ ซี7 แทนไม่เหมือนของ เอ็ม4 ที่เป็นศูนย์ที่ถอดได้แต่อิงระบบศูนย์ของเอ็ม 16 เอ2 โดยตัว ซี7เอ1 นั้นกองทัพแคนาดาใช้คู่กับ กล้องเล็ง ซี79 กำลังขยาย 3.4 (ELCAN C79 Optical sight 3.4x) และ ซี7เอ1 มีทั้งแบบที่ผลิตประกับลำกล้อง,ด้ามปืน,พานท้าย เป็นสีเขียวมะกอกและสีดำ และ นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มศูนย์หลังสำรอง (Backup Rear Sight) หรือศูนย์หลังสำหรับกรณีฉุกเฉินนั่นเองโดยจะทำการติดตั้งเวลาที่ใช้งานกับ กล้องเล็ง ซี79 ดูน้อยลง
ซี7เอ2 (C7A2) เป็นรุ่นที่ปรับปรุงมาจาก ซี7เอ1 ในช่วงที่แคนาดาส่งทหารไปเข้าร่วมรบที่อัฟกานิสถาน ดายมาโก และกองทัพแคนาดาได้ทำการพัฒนาตัวปืน ซี7เอ1เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานปืนได้ดียิ่งขึ้นในสมรภูมิอัฟกานิสถานผลที่ได้คือรุ่นที่พัฒนาต่อมีชื่อว่า ซี7เอ2 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือรางแบบ ทีอาร์ไอ-เอดี (TRI-AD) ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของตัวปืน เปลี่ยนพานท้ายเป็นพานท้ายที่สามารถปรับระดับตามสรีระของผู้ใช้งานได้ตามความต้องการของทหารเพราะพานท้ายแบบเต็มของ ซี7เอ1 นั้นมีความเทอะทะมากเวลานำกำลังเข้าตรวจค้นในเขตหมู่บ้านโดยตัวพานท้ายแบบใหม่นี้สามารถปรับระดับได้ 4 ตำแหน่ง และ มีการเพิ่มคันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา (Ambidextrous) และตัวคันรั้งของตัวปืนนั้นมีการเพิ่มความยาวด้ามจับเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น ปี ค.ศ.2016 กองทัพแคนาดาการปรับปรุง ซี7เอ2 ให้ตัวปืนนั้นมีความทันสมัยมากขึ้นโดยกองทัพแคนาดาได้ทำการปรับปรุงปืน ซี7เอ2 โดยสิ่งที่ปรับปรุงขึ้นมาคือ เพิ่มในส่วนของรางที่ยึดไว้กับรูประกับลำกล้องเพื่อให้ผู้ใช้งานนั้นสามารถติดตั้งด้ามจับได้
คันรั้งของตัวปืนนั้นมีการเพิ่มความยาวด้ามจับเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น
ซี10 (C10) เป็นรุ่นที่เอาไว้ฝึกใช้กระสุนขนาด .22 แอลอาร์ (.22LR) ผลิตตามแบบ ซี7 ทุกอย่าง
....................................................................................
รุ่นต่าง ๆ ของซี 8
....................................................................................
ซี8เอ1 (C8A1) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อมาจาก ซี8 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนใช้ระบบศูนย์แบบ ซี7เอ1 ที่สามารถถอดศูนย์เพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้โดยใช้งานคู่กับกล้องเล็ง ซี79 และ ภายหลังได้มีการเพิ่มรางแบบ ทีอาร์ไอ-เอดี (TRI-AD) ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของตัวปืน มีเพิ่มศูนย์หลังสำรอง (Backup Rear Sight) หรือศูนย์หลังสำหรับกรณีฉุกเฉินนั่นเอง
ซี8เอ2 (C8A2) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ1 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ใช้ลำกล้องหนาปลายความยาว 14.5 นิ้ว และตัวปืนมีการผลิตประกับลำกล้อง,ด้ามปืน,พานท้าย เป็นสีเขียวมะกอกเพิ่มเติม
ซี8เอ3 (C8A3) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ2 สิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาความยาว 15.7 นิ้ว
ซี8ซีที (C8CT) เป็นรุ่นที่มีความคล้ายคลึงกับ ซี7ซีที แต่เปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาที่ทำจากวัสดุสแตนเลสและไม่สามารถติดตั้งปลอกลดเสียงด้วยตัวปืนรอบรับระบบรางแบบ สองส่วน (Triad System) ที่พัฒนาโดยดายมาโก ตัวพานท้ายเป็นพานท้ายแบบระดับได้ตามสรีระของผู้ใช้งานและตรงที่รองพานท้ายได้มีการเพิ่มข้อต่อเพื่อยึดระยะพานท้ายของตัวปืนให้ยาวขึ้นอีกด้วย และ ตัวปืนยังมีการพัฒนาศูนย์หน้าแบบพับได้ซึ่งภายหลังศูนย์หน้าแบบนี้ได้ถูกนำไปใช้ใน ซี8 ที่ใช้งานโดยหน่วยรบพิเศษของนอร์เวย์
เอสเอฟดับเบิ้ลยู (SFW) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องหนาขนาด 16 นิ้วและมีคันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ซึ่งภายหลังมีการเพิ่มศูนย์หน้าและศูนย์หลังแบบพับได้มา
ซี8ซีคิวบี (CQB) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องความยาว 10 นิ้วและมีศูนย์หน้าศูนย์หลังแบบพับได้
ซี7ซีที (C7CT) ตัว CT นั้นย่อมาจาก Custom Tactical อย่างไรก็รุ่นนี้ใช้ระบบศูนย์เป็นแบบที่สามารถถอดหูหิ้วเพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้ ตัวลำกล้องหนาแบบปล่อยลำกล้องให้ลอยตัวอิสระ (free floated barrel) ประกับลำกล้องทำจากวัสดุคาร์บอนคล้ายกับ ปืนเล็กยาวซุ่มยิง เอสอาร์-25 (SR-25) รุ่นแรก ๆ ด้ามปืนและพานท้ายออกแบบตามหลักสรีระศาสตร์ และ ตัวปืนสามารถติดตั้งปลอกสดเลียงและขาทรายได้ มี คันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา
ซี8เอ1 (C8A1) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อมาจาก ซี8 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนใช้ระบบศูนย์แบบ ซี7เอ1 ที่สามารถถอดศูนย์เพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้โดยใช้งานคู่กับกล้องเล็ง ซี79 และ ภายหลังได้มีการเพิ่มรางแบบ ทีอาร์ไอ-เอดี (TRI-AD) ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของตัวปืน มีเพิ่มศูนย์หลังสำรอง (Backup Rear Sight) หรือศูนย์หลังสำหรับกรณีฉุกเฉินนั่นเอง
ซี8เอ2 (C8A2) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ1 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ใช้ลำกล้องหนาปลายความยาว 14.5 นิ้ว และตัวปืนมีการผลิตประกับลำกล้อง,ด้ามปืน,พานท้าย เป็นสีเขียวมะกอกเพิ่มเติม
ซี8เอ3 (C8A3) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ2 สิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาความยาว 15.7 นิ้ว
ซี8ซีที (C8CT) เป็นรุ่นที่มีความคล้ายคลึงกับ ซี7ซีที แต่เปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาที่ทำจากวัสดุสแตนเลสและไม่สามารถติดตั้งปลอกลดเสียงด้วยตัวปืนรอบรับระบบรางแบบ สองส่วน (Triad System) ที่พัฒนาโดยดายมาโก ตัวพานท้ายเป็นพานท้ายแบบระดับได้ตามสรีระของผู้ใช้งานและตรงที่รองพานท้ายได้มีการเพิ่มข้อต่อเพื่อยึดระยะพานท้ายของตัวปืนให้ยาวขึ้นอีกด้วย และ ตัวปืนยังมีการพัฒนาศูนย์หน้าแบบพับได้ซึ่งภายหลังศูนย์หน้าแบบนี้ได้ถูกนำไปใช้ใน ซี8 ที่ใช้งานโดยหน่วยรบพิเศษของนอร์เวย์
ศูนย์หน้าแบบพับได้ซึ่งภายหลังศูนย์หน้าแบบนี้ได้ถูกนำไปใช้ใน ซี8 ที่ใช้งานโดยหน่วยรบพิเศษของนอร์เวย์
เอสเอฟดับเบิ้ลยู (SFW) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องหนาขนาด 16 นิ้วและมีคันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ซึ่งภายหลังมีการเพิ่มศูนย์หน้าและศูนย์หลังแบบพับได้มา
ซี8ซีคิวบี (CQB) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องความยาว 10 นิ้วและมีศูนย์หน้าศูนย์หลังแบบพับได้
....................................................................................
รุ่นต่าง ๆ ของแอลเอสดับเบิ้ลยู
....................................................................................
แอลเอสดับเบิ้ลยูเอ1 (LSWA1) เป็นรุ่นที่พัฒนามาจาก แอลเอสดับเบิ้ลยู รุ่นแรกซึ่งมีการเพิ่มประกับรางพิคาทินี่เข้ามาในตัวปืน
เอสแอลเอสดับเบิ้ลยู (SLSW) ย่อมาจาก Special Forces Support Weapon พัฒนามาสำหรับหน่วยรบพิเศษ เป็นรุ่นที่สั้นลงของ แอลเอสดับเบิ้ลยูเอ1
....................................................................................
แคนาดา
เนเธอร์แลนด์
เดนมาร์ก
ข้อมูลทางเทคนิค
....................................................................................
ชื่อ : ดายมาโก ซี7
ผู้ผลิต : ดายมาโก (ปัจจุบันคือโคลต์แคนาดา)
ขนาดกระสุน : 5.56x45มม. นาโต้
ความจุซองกระสุน : 30 นัด
ระบบ : ระบบปฏิบัติการแบบเเก๊สดันตรงห้องลูกเลื่อน
ความยาวลำกล้อง : 20 นิ้ว
น้ำหนักตัวปืน : 3.30 กิโลกรัม
ประเทศผู้ผลิต : แคนาดา
....................................................................................
ขอบคุณที่รับชมสวัสดีครับ หากผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
@rmz
แหล่งอ้างอิง
....................................................................................
The world's assault rifles and automatic carbines
https://en.wikipedia.org/wiki/Colt_Canada_C7
https://modernfirearms.net/.../diemaco-c7a1-c7a2-c8-eng/
http://tonnel-ufo-english.tk/.../assault-rifle-automatic...
....................................................................................
ความเห็น/เพิ่มเติม
....................................................................................
ในส่วนปืนที่จะมาแทนอย่าง MPR และ CMAR จะทำบทความแยกในอนาคตนะครับ
....................................................................................
#บทความโดยGW
#GW
#rmz
สวัสดีครับ
สารานุกรมปืนตอนที่ 601 AR15 ตอนสุดท้าย Colt Canada part final
ซี7เอ1 (C7A1) เป็นที่ปรับปรุงมาจาก ซี7 รุ่นแรกโดยมีการปรับเปลี่ยนคือปรับเปลี่ยนระบบศูนย์เป็นแบบที่สามารถถอดได้เพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้คล้ายกับแบบปืนเล็กสั้น เอ็ม4 (M4 Carbine) แต่ว่าของ ซี7เอ1 นั้นจะเป็นระบบศูนย์แบบ เอ็ม16เอ1 แบบ ซี7 แทนไม่เหมือนของ เอ็ม4 ที่เป็นศูนย์ที่ถอดได้แต่อิงระบบศูนย์ของเอ็ม 16 เอ2 โดยตัว ซี7เอ1 นั้นกองทัพแคนาดาใช้คู่กับ กล้องเล็ง ซี79 กำลังขยาย 3.4 (ELCAN C79 Optical sight 3.4x) และ ซี7เอ1 มีทั้งแบบที่ผลิตประกับลำกล้อง,ด้ามปืน,พานท้าย เป็นสีเขียวมะกอกและสีดำ และ นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มศูนย์หลังสำรอง (Backup Rear Sight) หรือศูนย์หลังสำหรับกรณีฉุกเฉินนั่นเองโดยจะทำการติดตั้งเวลาที่ใช้งานกับ กล้องเล็ง ซี79 ดูน้อยลง
ซี7เอ2 (C7A2) เป็นรุ่นที่ปรับปรุงมาจาก ซี7เอ1 ในช่วงที่แคนาดาส่งทหารไปเข้าร่วมรบที่อัฟกานิสถาน ดายมาโก และกองทัพแคนาดาได้ทำการพัฒนาตัวปืน ซี7เอ1เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานปืนได้ดียิ่งขึ้นในสมรภูมิอัฟกานิสถานผลที่ได้คือรุ่นที่พัฒนาต่อมีชื่อว่า ซี7เอ2 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือรางแบบ ทีอาร์ไอ-เอดี (TRI-AD) ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของตัวปืน เปลี่ยนพานท้ายเป็นพานท้ายที่สามารถปรับระดับตามสรีระของผู้ใช้งานได้ตามความต้องการของทหารเพราะพานท้ายแบบเต็มของ ซี7เอ1 นั้นมีความเทอะทะมากเวลานำกำลังเข้าตรวจค้นในเขตหมู่บ้านโดยตัวพานท้ายแบบใหม่นี้สามารถปรับระดับได้ 4 ตำแหน่ง และ มีการเพิ่มคันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา (Ambidextrous) และตัวคันรั้งของตัวปืนนั้นมีการเพิ่มความยาวด้ามจับเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น ปี ค.ศ.2016 กองทัพแคนาดาการปรับปรุง ซี7เอ2 ให้ตัวปืนนั้นมีความทันสมัยมากขึ้นโดยกองทัพแคนาดาได้ทำการปรับปรุงปืน ซี7เอ2 โดยสิ่งที่ปรับปรุงขึ้นมาคือ เพิ่มในส่วนของรางที่ยึดไว้กับรูประกับลำกล้องเพื่อให้ผู้ใช้งานนั้นสามารถติดตั้งด้ามจับได้
คันรั้งของตัวปืนนั้นมีการเพิ่มความยาวด้ามจับเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น
ซี10 (C10) เป็นรุ่นที่เอาไว้ฝึกใช้กระสุนขนาด .22 แอลอาร์ (.22LR) ผลิตตามแบบ ซี7 ทุกอย่าง
....................................................................................
รุ่นต่าง ๆ ของซี 8
....................................................................................
ซี8เอ1 (C8A1) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อมาจาก ซี8 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนใช้ระบบศูนย์แบบ ซี7เอ1 ที่สามารถถอดศูนย์เพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้โดยใช้งานคู่กับกล้องเล็ง ซี79 และ ภายหลังได้มีการเพิ่มรางแบบ ทีอาร์ไอ-เอดี (TRI-AD) ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของตัวปืน มีเพิ่มศูนย์หลังสำรอง (Backup Rear Sight) หรือศูนย์หลังสำหรับกรณีฉุกเฉินนั่นเอง
ซี8เอ2 (C8A2) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ1 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ใช้ลำกล้องหนาปลายความยาว 14.5 นิ้ว และตัวปืนมีการผลิตประกับลำกล้อง,ด้ามปืน,พานท้าย เป็นสีเขียวมะกอกเพิ่มเติม
ซี8เอ3 (C8A3) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ2 สิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาความยาว 15.7 นิ้ว
ซี8ซีที (C8CT) เป็นรุ่นที่มีความคล้ายคลึงกับ ซี7ซีที แต่เปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาที่ทำจากวัสดุสแตนเลสและไม่สามารถติดตั้งปลอกลดเสียงด้วยตัวปืนรอบรับระบบรางแบบ สองส่วน (Triad System) ที่พัฒนาโดยดายมาโก ตัวพานท้ายเป็นพานท้ายแบบระดับได้ตามสรีระของผู้ใช้งานและตรงที่รองพานท้ายได้มีการเพิ่มข้อต่อเพื่อยึดระยะพานท้ายของตัวปืนให้ยาวขึ้นอีกด้วย และ ตัวปืนยังมีการพัฒนาศูนย์หน้าแบบพับได้ซึ่งภายหลังศูนย์หน้าแบบนี้ได้ถูกนำไปใช้ใน ซี8 ที่ใช้งานโดยหน่วยรบพิเศษของนอร์เวย์
เอสเอฟดับเบิ้ลยู (SFW) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องหนาขนาด 16 นิ้วและมีคันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ซึ่งภายหลังมีการเพิ่มศูนย์หน้าและศูนย์หลังแบบพับได้มา
ซี8ซีคิวบี (CQB) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องความยาว 10 นิ้วและมีศูนย์หน้าศูนย์หลังแบบพับได้
ซี7ซีที (C7CT) ตัว CT นั้นย่อมาจาก Custom Tactical อย่างไรก็รุ่นนี้ใช้ระบบศูนย์เป็นแบบที่สามารถถอดหูหิ้วเพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้ ตัวลำกล้องหนาแบบปล่อยลำกล้องให้ลอยตัวอิสระ (free floated barrel) ประกับลำกล้องทำจากวัสดุคาร์บอนคล้ายกับ ปืนเล็กยาวซุ่มยิง เอสอาร์-25 (SR-25) รุ่นแรก ๆ ด้ามปืนและพานท้ายออกแบบตามหลักสรีระศาสตร์ และ ตัวปืนสามารถติดตั้งปลอกสดเลียงและขาทรายได้ มี คันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา
ซี8เอ1 (C8A1) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อมาจาก ซี8 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนใช้ระบบศูนย์แบบ ซี7เอ1 ที่สามารถถอดศูนย์เพื่อติดตั้งเครื่องช่วยเล็งได้โดยใช้งานคู่กับกล้องเล็ง ซี79 และ ภายหลังได้มีการเพิ่มรางแบบ ทีอาร์ไอ-เอดี (TRI-AD) ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของตัวปืน มีเพิ่มศูนย์หลังสำรอง (Backup Rear Sight) หรือศูนย์หลังสำหรับกรณีฉุกเฉินนั่นเอง
ซี8เอ2 (C8A2) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ1 โดยสิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ใช้ลำกล้องหนาปลายความยาว 14.5 นิ้ว และตัวปืนมีการผลิตประกับลำกล้อง,ด้ามปืน,พานท้าย เป็นสีเขียวมะกอกเพิ่มเติม
ซี8เอ3 (C8A3) เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซี8เอ2 สิ่งที่ปรับเปลี่ยนคือตัวปืนเปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาความยาว 15.7 นิ้ว
ซี8ซีที (C8CT) เป็นรุ่นที่มีความคล้ายคลึงกับ ซี7ซีที แต่เปลี่ยนไปใช้ลำกล้องหนาที่ทำจากวัสดุสแตนเลสและไม่สามารถติดตั้งปลอกลดเสียงด้วยตัวปืนรอบรับระบบรางแบบ สองส่วน (Triad System) ที่พัฒนาโดยดายมาโก ตัวพานท้ายเป็นพานท้ายแบบระดับได้ตามสรีระของผู้ใช้งานและตรงที่รองพานท้ายได้มีการเพิ่มข้อต่อเพื่อยึดระยะพานท้ายของตัวปืนให้ยาวขึ้นอีกด้วย และ ตัวปืนยังมีการพัฒนาศูนย์หน้าแบบพับได้ซึ่งภายหลังศูนย์หน้าแบบนี้ได้ถูกนำไปใช้ใน ซี8 ที่ใช้งานโดยหน่วยรบพิเศษของนอร์เวย์
ศูนย์หน้าแบบพับได้ซึ่งภายหลังศูนย์หน้าแบบนี้ได้ถูกนำไปใช้ใน ซี8 ที่ใช้งานโดยหน่วยรบพิเศษของนอร์เวย์
เอสเอฟดับเบิ้ลยู (SFW) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องหนาขนาด 16 นิ้วและมีคันบังคับการยิงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ซึ่งภายหลังมีการเพิ่มศูนย์หน้าและศูนย์หลังแบบพับได้มา
ซี8ซีคิวบี (CQB) เป็นรุ่นที่ใช้ลำกล้องความยาว 10 นิ้วและมีศูนย์หน้าศูนย์หลังแบบพับได้
....................................................................................
รุ่นต่าง ๆ ของแอลเอสดับเบิ้ลยู
....................................................................................
แอลเอสดับเบิ้ลยูเอ1 (LSWA1) เป็นรุ่นที่พัฒนามาจาก แอลเอสดับเบิ้ลยู รุ่นแรกซึ่งมีการเพิ่มประกับรางพิคาทินี่เข้ามาในตัวปืน
เอสแอลเอสดับเบิ้ลยู (SLSW) ย่อมาจาก Special Forces Support Weapon พัฒนามาสำหรับหน่วยรบพิเศษ เป็นรุ่นที่สั้นลงของ แอลเอสดับเบิ้ลยูเอ1
....................................................................................
แคนาดา
เนเธอร์แลนด์
เดนมาร์ก
ข้อมูลทางเทคนิค
....................................................................................
ชื่อ : ดายมาโก ซี7
ผู้ผลิต : ดายมาโก (ปัจจุบันคือโคลต์แคนาดา)
ขนาดกระสุน : 5.56x45มม. นาโต้
ความจุซองกระสุน : 30 นัด
ระบบ : ระบบปฏิบัติการแบบเเก๊สดันตรงห้องลูกเลื่อน
ความยาวลำกล้อง : 20 นิ้ว
น้ำหนักตัวปืน : 3.30 กิโลกรัม
ประเทศผู้ผลิต : แคนาดา
....................................................................................
ขอบคุณที่รับชมสวัสดีครับ หากผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
@rmz
แหล่งอ้างอิง
....................................................................................
The world's assault rifles and automatic carbines
https://en.wikipedia.org/wiki/Colt_Canada_C7
https://modernfirearms.net/.../diemaco-c7a1-c7a2-c8-eng/
http://tonnel-ufo-english.tk/.../assault-rifle-automatic...
....................................................................................
ความเห็น/เพิ่มเติม
....................................................................................
ในส่วนปืนที่จะมาแทนอย่าง MPR และ CMAR จะทำบทความแยกในอนาคตนะครับ
....................................................................................
#บทความโดยGW
#GW
#rmz