จากผลสำรวจพบว่าคนไทยมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์โควิด-19 มากถึง 68% และ 56% มีความกลัวกับการระบาดที่เกิดขึ้น
ซึ่งจากผลสำรวจนี้ Marketeer มองว่าเป็นสิ่งที่น่ากังวลกว่าโควิด-19 คือ สุขภาพจิตของคนไทย
เพราะจากผลสำรวจพบว่าคนไทยมากถึง 31% ที่มีความวิตกกังวลอยู่ในหัว หรือคิดไม่ตกอยู่ตลอดเวลาเกี่ยวกับสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้น
คนไทยคิดอย่างไรกับสถานการณ์โควิด-19
68% มีความวิตกกังวล
56% กลัว
48% เครียด
43% เตรียมความพร้อมต่อสถานการณ์
31% วิตกกังวลอยู่ตลอดเวลา
จากสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน คนไทยส่วนใหญ่ยังคงนิยมรับข่าวสาร ติดตามและอัปเดตข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับโควิด-19 ผ่านโซเชียลมีเดียเป็นหลัก รองลงมา ได้แก่ รายการข่าวบนสื่อโทรทัศน์ และข่าวทางเว็บไซต์ออนไลน์ เป็น 3 อันดับแรก
ติดตาม อัปเดต ข้อมูลข่าวสารโควิด-19 จากไหน
72% โซเชียลมีเดีย
59% รายการข่าวบนสื่อโทรทัศน์
54% ข่าวทางเว็บไซต์ออนไลน์
37% จากเพื่อนหรือครอบครัว
นอกจากนี้ จากการสำรวจยังพบว่าการกักตัวอยู่บ้านของคนไทย ไม่ได้ทำให้คนไทยใช้เวลากับโลกออนไลน์มากขึ้น เพราะยังมีผู้ตอบแบบสำรวจกลุ่มหนึ่งใช้เวลากับโลกออนไลน์น้อยลง
ซึ่งเหตุผล Marketeer มองว่าส่วนหนึ่งน่าจะมาจากการทำงานจากบ้านในปริมาณที่เพิ่มขึ้น และไม่สามารถแยกเวลาออกจากกันได้ทั้งเวลาทำงานและเวลาส่วนตัว รวมถึงการไม่ต้องเดินทางออกไปทำงานทำให้คนไทยบางกลุ่มที่เคยดูหนัง เล่นเกม เข้าโซเชียลมีเดียฆ่าเวลาระหว่างเดินทางหยุดพฤติกรรมเหล่านี้ไป
ช่วงกักตัวอยู่บ้านใช้เวลากับโลกออนไลน์มากน้อยแค่ไหน
ใช้เวลามากขึ้น
ใช้เวลาลดลง
โซเชียลมีเดีย
66%
4%
เล่นเกม
66%
5%
เข้าแอปต่างๆ บนมือถือ
58%
6%
ดูภาพยนตร์ออนไลน์
53%
9%
ทั้งนี้ เมื่อพูดถึงภาคเอกชนและแบรนด์ต่างๆ คนไทยยังมีความคิดว่าสามารถช่วยเหลือสถานการณ์โควิด-19 ในไทยได้ด้วยการบริจาคเงินเป็นอันดับแรก รองลงมาคือปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ และบริจาคสิ่งของเป็นอันดับที่สาม
คนไทยคิดว่าภาคเอกชนสามารถช่วยเหลือในสถานการณ์โควิด-19 อย่างไร
55% บริจาคเงิน
54% ปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ
52% บริจาคสิ่งของ
51% สนับสนุนแรงงานที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19
49% นำเสนอหรือให้ข้อมูลเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับโควิด-19
46% สนับสนุนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม
42% อนุญาตให้พนักงานลาป่วย
40% หยุดเผยแพร่ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการแพร่ระบาด
โดยแบรนด์ที่นึกถึงในฐานะผู้ช่วยเหลือเหตุการณ์โควิด-19 ใน 8 แบรนด์แรก ได้แก่ ซีพี, สิงห์, ทรู, วาโก้, อิชิตัน, อาลีบาบา, เอไอเอ และกรุงไทย
ซึ่งแบรนด์ ซีพี เป็นแบรนด์ที่มีการช่วยเหลือในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงโครงการสร้างโรงงานหน้ากากอนามัยของเจ้าสัวซีพี
และ สิงห์ เป็นแบรนด์ที่ออกมาบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือด้านการแพทย์เพื่อต่อสู้กับโควิด-19 เป็นรายแรกๆ ในไทย
–
อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ Website: Marketeeronline.co
Facebook: www.facebook.com/marketeeronline
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้คิดยังไงถ้าโรคบ้านี้มาอีกถ้าทุกคนติดกันหมด
อยากรู้ว่า เธอคิดไงกับโควิด 2021
ซึ่งจากผลสำรวจนี้ Marketeer มองว่าเป็นสิ่งที่น่ากังวลกว่าโควิด-19 คือ สุขภาพจิตของคนไทย
เพราะจากผลสำรวจพบว่าคนไทยมากถึง 31% ที่มีความวิตกกังวลอยู่ในหัว หรือคิดไม่ตกอยู่ตลอดเวลาเกี่ยวกับสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้น
คนไทยคิดอย่างไรกับสถานการณ์โควิด-19
68% มีความวิตกกังวล
56% กลัว
48% เครียด
43% เตรียมความพร้อมต่อสถานการณ์
31% วิตกกังวลอยู่ตลอดเวลา
จากสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน คนไทยส่วนใหญ่ยังคงนิยมรับข่าวสาร ติดตามและอัปเดตข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับโควิด-19 ผ่านโซเชียลมีเดียเป็นหลัก รองลงมา ได้แก่ รายการข่าวบนสื่อโทรทัศน์ และข่าวทางเว็บไซต์ออนไลน์ เป็น 3 อันดับแรก
ติดตาม อัปเดต ข้อมูลข่าวสารโควิด-19 จากไหน
72% โซเชียลมีเดีย
59% รายการข่าวบนสื่อโทรทัศน์
54% ข่าวทางเว็บไซต์ออนไลน์
37% จากเพื่อนหรือครอบครัว
นอกจากนี้ จากการสำรวจยังพบว่าการกักตัวอยู่บ้านของคนไทย ไม่ได้ทำให้คนไทยใช้เวลากับโลกออนไลน์มากขึ้น เพราะยังมีผู้ตอบแบบสำรวจกลุ่มหนึ่งใช้เวลากับโลกออนไลน์น้อยลง
ซึ่งเหตุผล Marketeer มองว่าส่วนหนึ่งน่าจะมาจากการทำงานจากบ้านในปริมาณที่เพิ่มขึ้น และไม่สามารถแยกเวลาออกจากกันได้ทั้งเวลาทำงานและเวลาส่วนตัว รวมถึงการไม่ต้องเดินทางออกไปทำงานทำให้คนไทยบางกลุ่มที่เคยดูหนัง เล่นเกม เข้าโซเชียลมีเดียฆ่าเวลาระหว่างเดินทางหยุดพฤติกรรมเหล่านี้ไป
ช่วงกักตัวอยู่บ้านใช้เวลากับโลกออนไลน์มากน้อยแค่ไหน
ใช้เวลามากขึ้น
ใช้เวลาลดลง
โซเชียลมีเดีย
66%
4%
เล่นเกม
66%
5%
เข้าแอปต่างๆ บนมือถือ
58%
6%
ดูภาพยนตร์ออนไลน์
53%
9%
ทั้งนี้ เมื่อพูดถึงภาคเอกชนและแบรนด์ต่างๆ คนไทยยังมีความคิดว่าสามารถช่วยเหลือสถานการณ์โควิด-19 ในไทยได้ด้วยการบริจาคเงินเป็นอันดับแรก รองลงมาคือปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ และบริจาคสิ่งของเป็นอันดับที่สาม
คนไทยคิดว่าภาคเอกชนสามารถช่วยเหลือในสถานการณ์โควิด-19 อย่างไร
55% บริจาคเงิน
54% ปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ
52% บริจาคสิ่งของ
51% สนับสนุนแรงงานที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19
49% นำเสนอหรือให้ข้อมูลเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับโควิด-19
46% สนับสนุนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม
42% อนุญาตให้พนักงานลาป่วย
40% หยุดเผยแพร่ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการแพร่ระบาด
โดยแบรนด์ที่นึกถึงในฐานะผู้ช่วยเหลือเหตุการณ์โควิด-19 ใน 8 แบรนด์แรก ได้แก่ ซีพี, สิงห์, ทรู, วาโก้, อิชิตัน, อาลีบาบา, เอไอเอ และกรุงไทย
ซึ่งแบรนด์ ซีพี เป็นแบรนด์ที่มีการช่วยเหลือในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงโครงการสร้างโรงงานหน้ากากอนามัยของเจ้าสัวซีพี
และ สิงห์ เป็นแบรนด์ที่ออกมาบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือด้านการแพทย์เพื่อต่อสู้กับโควิด-19 เป็นรายแรกๆ ในไทย
–
อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ Website: Marketeeronline.co
Facebook: www.facebook.com/marketeeronline
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้