คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ใช้สูตรหาปริมาณความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะ (ใช้ในช่วงที่สารเปลี่ยนสถานะ แต่อุณหภูมิเท่าเดิม)
Q=mL
Q คือปริมาณความร้อน (หน่วย Cal)
m คือมวลของสาร(หน่วย g)
L คือค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว , การกลายเป็นไอ หรือการระเหิด
ของสาร(หน่วย Cal/g)
โดย
Lหลอมเหลวของน้ำแข็ง=80 Cal/g
(ต้องจำ!! เพราะโจทย์มักจะไม่บอกค่ามาให้)
แทนค่าในสูตรหาปริมาณความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะ
Q=500*80=40,000 Cal หรือ 40 kCal
ดังนั้น ต้องใช้ปริมาณความร้อน 40 กิโลแคลอรี่ ในการเปลี่ยนสถานะจากน้ำแข็ง 0°C ไปเป็นน้ำ 0°C
ปล1. 1 Cal=4.184 J กับ 1 BTU = 252 cal
ใช้แปลงหน่วยปริมาณความร้อน(Q)
ปล2.ระวังเรื่องการใช้สูตรและการแปลงหน่วยเพราะมีค่าหลายหน่วยมาก ขึ้นอยู่กับโจทย์
Q=mL
Q คือปริมาณความร้อน (หน่วย Cal)
m คือมวลของสาร(หน่วย g)
L คือค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว , การกลายเป็นไอ หรือการระเหิด
ของสาร(หน่วย Cal/g)
โดย
Lหลอมเหลวของน้ำแข็ง=80 Cal/g
(ต้องจำ!! เพราะโจทย์มักจะไม่บอกค่ามาให้)
แทนค่าในสูตรหาปริมาณความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะ
Q=500*80=40,000 Cal หรือ 40 kCal
ดังนั้น ต้องใช้ปริมาณความร้อน 40 กิโลแคลอรี่ ในการเปลี่ยนสถานะจากน้ำแข็ง 0°C ไปเป็นน้ำ 0°C
ปล1. 1 Cal=4.184 J กับ 1 BTU = 252 cal
ใช้แปลงหน่วยปริมาณความร้อน(Q)
ปล2.ระวังเรื่องการใช้สูตรและการแปลงหน่วยเพราะมีค่าหลายหน่วยมาก ขึ้นอยู่กับโจทย์
แสดงความคิดเห็น
มีคำถามครับ
ขอเป็นวิธีทำนะครับ