คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
สูตรแปลงหน่วยแคลอรี่(cal) --> หน่วยจูล(J)
1 cal = 4.2 J
พลังงานความร้อนของวัตถุเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป
Q=mC∆T=mC(Tปลาย-Tเริ่มต้น)
โดย CหรือS คือค่าความจุความร้อนจำเพาะ
ถ้า Q ติดลบ แสดงว่า พลังงานความร้อนลดลง
∆T คืออุณหภูมิที่เปลี่ยนไป
(บางตำราใช้ Q=mS∆T มีความหมายเดียวกัน)
พลังงานความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะ
เช่น การเปลี่ยนสถานะ ของแข็ง<-->ของเหลว หรือ ของเหลว<-->แก๊ส
Q=mL
โดย L คือค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการเปลี่ยนสถานะ (มี2ค่าคือ Lกลายเป็นไอ , Lหลอมเหลว)
กรณีพลังงานความร้อนรวมในระบบไม่เปลี่ยนแปลง
Qเพิ่ม = Qลด
ตารางค่าความจุความร้อนจำเพาะ(C)
(จำแค่ค่าของน้ำ และน้ำแข็ง ในหน่วย cal/g•°C)
ตารางค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการกลาย
เป็นไอ(Lกลายเป็นไอ)
ตารางค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว(Lหลอมเหลว)
(ในตำราส่วนใหญ่ใช้ 80 cal/g)
กราฟแสดงพลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ
กรณีเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็ง-->ของเหลว--->แก๊ส
กรณีเปลี่ยนสถานะจาก แก๊ส-->ของเหลว-->ของแข็ง
1 cal = 4.2 J
พลังงานความร้อนของวัตถุเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป
Q=mC∆T=mC(Tปลาย-Tเริ่มต้น)
โดย CหรือS คือค่าความจุความร้อนจำเพาะ
ถ้า Q ติดลบ แสดงว่า พลังงานความร้อนลดลง
∆T คืออุณหภูมิที่เปลี่ยนไป
(บางตำราใช้ Q=mS∆T มีความหมายเดียวกัน)
พลังงานความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะ
เช่น การเปลี่ยนสถานะ ของแข็ง<-->ของเหลว หรือ ของเหลว<-->แก๊ส
Q=mL
โดย L คือค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการเปลี่ยนสถานะ (มี2ค่าคือ Lกลายเป็นไอ , Lหลอมเหลว)
กรณีพลังงานความร้อนรวมในระบบไม่เปลี่ยนแปลง
Qเพิ่ม = Qลด
ตารางค่าความจุความร้อนจำเพาะ(C)
(จำแค่ค่าของน้ำ และน้ำแข็ง ในหน่วย cal/g•°C)
ตารางค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการกลาย
เป็นไอ(Lกลายเป็นไอ)
ตารางค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว(Lหลอมเหลว)
(ในตำราส่วนใหญ่ใช้ 80 cal/g)
กราฟแสดงพลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ
กรณีเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็ง-->ของเหลว--->แก๊ส
กรณีเปลี่ยนสถานะจาก แก๊ส-->ของเหลว-->ของแข็ง
แสดงความคิดเห็น
ช่วยอธข้อนี้ได้ไหมคะ