อ่านเจอในกระทู้
(แตกประเด็นจากกระทู้ 35487988)ญี่ปุ่นยุคเมจิ : เมื่อพวกเขาแปลตำราวิชาการ ของ
สมาชิกหมายเลข 3329060 https://ppantip.com/topic/35499562 17 สิงหาคม 2559 เวลา 20:05 น.
ขออนุญาตคัดเนื้อหามานะครับ
การแปล
ก่อนการจัดตั้งคณะกรรมการเผยแพร่ความรู้เพื่อแปลตำรา และ เอกสาร ขึ้นมานั้น ในคณะเมจิก็มีการถกเถียงกันว่า มันจำเป็นหรือไม่ที่จะต้องแปลตำรับตำราภาษาต่างประเทศให้เป็นภาษาญี่ปุ่นทั้งหมด เพราะรายได้เฉลี่ยของประชากรญี่ปุ่นขณะนั้นอยู่ที่ ประมาณเดือนละ 1 เยน ซึ่งคงเป็นเรื่องยากที่จะซื้อหาหนังสือได้ แต่เมื่อมีกฎหมายปฏิรูปการศึกษาขึ้นมาในปี 1872 มันกลายเป็นเรื่องใหญ่สิครับ เพราะแน่นอนว่าการปฏิรูปการศึกษามันต้องการตำราเรียนจำนวนมาก ดงนั้นในที่สุดจึงมีการตั้งคณะกรรมการที่จะทำหน้าที่แปลตำราทางวิชาการ บทความวิจัย จากต่างประเทศ เพื่อเป็นประโยชน์ให้ญี่ปุ่นให้มากที่สุด ตามคำปฏิญาณต่อจักรพรรดิ
แต่ว่า ปัญหาคือ ญี่ปุ่นยังไม่ค่อยมีตำราให้แปลมากนัก เพราะหนังสือนั้นราคาแพงมาก แต่ว่าพวกเศรษฐีก็พอหาซื้อหนังสือได้ ดังน้นในปี 1874 คณะเมจิ ออกกฎหมายบังคับให้นำหนังสือตำราภาษาต่างประเทศมามอบให้คณะกรรมการแปล โดยเมื่อแปลเสร็จแล้วก็จะมีการส่งคืนหนังสือให้เจ้าของเดิม ซึ่งจากกฎหมายฉบบนี้ ทำให้นักเรียน หรือ ข้าราชการผู้กลับมาจากการศึกษาดูงาน และเอาตำราจากต่างประเทศติดตวกลับมาด้วย รวมถึงเทคนิคใหม่ๆ ก็ถูกแปลเป็นภาษาญี่ปุ่นทั้งหมด ซึ่งหนังสือเหล่านี้ หลักๆก็มีภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ที่น่าสนใจคือ มีภาษาไทยตั้ง 1 เล่ม เป็นเรื่องการวางระบบล้อเลื่อนแบบใหม่ ที่เขียนโดย หลวงวิฑูรวิธีกล ปัจจุบันอยู่ที่ มหาวิทยาลัยโตเกียวจ้า
ถามว่า การแปลหนังสือเหล่านี้ คณะกรรมการผู้ทำการแปลได้รับค่าจ้างดีไหม คำตอบคือ ค่าจ้างดีมาก อยู่ที่ประมาณ เดือนละ 13 เยน ในปี 1875 จนถึง เดือนละ 20 เยน ในปี 1903 ซึ่งเทียบกับสามัญชนที่ได้เงินเดือนประมาณ 2-4 เยนต่อเดือนนับว่าสูงมากครับ
การสิ้นสุดลงของการแปลหนังสือขนานใหญ่ในญี่ปุ่น
การสิ้นสุดลงของการแปลตำราต่างประเทศของญี่ปุ่นที่ทำในนามรัฐบาลสิ้นสุดในปี 1906 ครับ เนื่องจากการมีอิทธิพลมากขึ้นของกองทัพญี่ปุ่น ภายหลังชัยชนะในสงคราม Russo-Japanese ในปี 1905 ซึ่งเห็นว่างบประมาณที่ญี่ปุ่นใช้การแปลหนงสือตำรับตรำราต่างประเทศนั้น สมควรเอามาให้กองทพดีกว่า (ในขณะนั้นงบประมาณที่ใช้แปลหนังสืออยู่ที่ปีละ 1.3 ล้านเยน ครับ) และในขณะนั้น มีอาชีพนักแปล และ โรงพิมพ์เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากแล้วครับ ทำให้การแปลอย่างเป็นกิจลักษณะโดยทำผ่านรัฐบาลนั้น ไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป โดยเล่มสุดท้ายที่คณะกรรมการนี้แปลคือ คัมภีร์อัล-กุรอาน ฉบับภาษาญี่ปุ่น ที่เสร็จสิ้นในปี 1906 และใช้เป็นฉบับมาตรฐานในญี่ปุ่นครับ
แต่ถึงกระนั้นก็ได้ แปลหนังสือไป 27200 เล่มครับ ซึ่งหนังสือเหล่านี้ จะช่วยพัฒนาญี่ปุ่น เพราะมันจะเป็นฐานต่อการวิจัยสิ่งต่างๆ อันนำไปสู่การพัฒนาช่วงเมจิ และต่อเนื่องมาถึง The miracle era ในช่วง ยุค 60-70 ด้วย
จะเห็นว่าทางญี่ปุ่นยุคเมจิมีการลงทุน แปลตำราวิชาการต่างประเทศมาเป็นภาษาญี่ปุ่นให้คนญี่ปุ่นศึกษา เล่าเรียน แล้วของทางไทยปัจจุบันได้มีการแปลตำราอะไรพวกนี้บ้างรึยังครับ เพราะเท่าที่ทราบสมัย ร.5 พึ่งจะเริ่มอะไรใหม่ๆ จำนวนประชากรคนสยามอ่านออกเขียนได้มีจำนวนน้อยกว่าทางญี่ปุ่นอย่างเทียบกันไม่ติดเพราะทางญี่ปุ่นมีการก่อตั้งสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
https://ppantip.com/topic/39189487
แถมทุนทรัพก็น้อยกว่าทางญี่ปุ่นอย่างมากด้วยทำให้ในเวลานั้นไม่สามารถหาทุนในการแปลภาษาได้ ส่วนหนึ่งน่าจะมาจากการเสียกรุงครั้งที่ 2 ด้วยต้องเริ่มสะสมทุนใหม่ตั้งแต่กรุงธนบุรีเลย แถมจำนวนคนก็น้อยมากอีก หากเทียบกับประชากรของญี่ปุ่น
ทางประเทศไทยเริ่มมีการจัดการแปลตำราวิชาการเหมือนกับทางญี่ปุ่นไหมครับ
ขออนุญาตคัดเนื้อหามานะครับ
การแปล
ก่อนการจัดตั้งคณะกรรมการเผยแพร่ความรู้เพื่อแปลตำรา และ เอกสาร ขึ้นมานั้น ในคณะเมจิก็มีการถกเถียงกันว่า มันจำเป็นหรือไม่ที่จะต้องแปลตำรับตำราภาษาต่างประเทศให้เป็นภาษาญี่ปุ่นทั้งหมด เพราะรายได้เฉลี่ยของประชากรญี่ปุ่นขณะนั้นอยู่ที่ ประมาณเดือนละ 1 เยน ซึ่งคงเป็นเรื่องยากที่จะซื้อหาหนังสือได้ แต่เมื่อมีกฎหมายปฏิรูปการศึกษาขึ้นมาในปี 1872 มันกลายเป็นเรื่องใหญ่สิครับ เพราะแน่นอนว่าการปฏิรูปการศึกษามันต้องการตำราเรียนจำนวนมาก ดงนั้นในที่สุดจึงมีการตั้งคณะกรรมการที่จะทำหน้าที่แปลตำราทางวิชาการ บทความวิจัย จากต่างประเทศ เพื่อเป็นประโยชน์ให้ญี่ปุ่นให้มากที่สุด ตามคำปฏิญาณต่อจักรพรรดิ
แต่ว่า ปัญหาคือ ญี่ปุ่นยังไม่ค่อยมีตำราให้แปลมากนัก เพราะหนังสือนั้นราคาแพงมาก แต่ว่าพวกเศรษฐีก็พอหาซื้อหนังสือได้ ดังน้นในปี 1874 คณะเมจิ ออกกฎหมายบังคับให้นำหนังสือตำราภาษาต่างประเทศมามอบให้คณะกรรมการแปล โดยเมื่อแปลเสร็จแล้วก็จะมีการส่งคืนหนังสือให้เจ้าของเดิม ซึ่งจากกฎหมายฉบบนี้ ทำให้นักเรียน หรือ ข้าราชการผู้กลับมาจากการศึกษาดูงาน และเอาตำราจากต่างประเทศติดตวกลับมาด้วย รวมถึงเทคนิคใหม่ๆ ก็ถูกแปลเป็นภาษาญี่ปุ่นทั้งหมด ซึ่งหนังสือเหล่านี้ หลักๆก็มีภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ที่น่าสนใจคือ มีภาษาไทยตั้ง 1 เล่ม เป็นเรื่องการวางระบบล้อเลื่อนแบบใหม่ ที่เขียนโดย หลวงวิฑูรวิธีกล ปัจจุบันอยู่ที่ มหาวิทยาลัยโตเกียวจ้า
ถามว่า การแปลหนังสือเหล่านี้ คณะกรรมการผู้ทำการแปลได้รับค่าจ้างดีไหม คำตอบคือ ค่าจ้างดีมาก อยู่ที่ประมาณ เดือนละ 13 เยน ในปี 1875 จนถึง เดือนละ 20 เยน ในปี 1903 ซึ่งเทียบกับสามัญชนที่ได้เงินเดือนประมาณ 2-4 เยนต่อเดือนนับว่าสูงมากครับ
การสิ้นสุดลงของการแปลหนังสือขนานใหญ่ในญี่ปุ่น
การสิ้นสุดลงของการแปลตำราต่างประเทศของญี่ปุ่นที่ทำในนามรัฐบาลสิ้นสุดในปี 1906 ครับ เนื่องจากการมีอิทธิพลมากขึ้นของกองทัพญี่ปุ่น ภายหลังชัยชนะในสงคราม Russo-Japanese ในปี 1905 ซึ่งเห็นว่างบประมาณที่ญี่ปุ่นใช้การแปลหนงสือตำรับตรำราต่างประเทศนั้น สมควรเอามาให้กองทพดีกว่า (ในขณะนั้นงบประมาณที่ใช้แปลหนังสืออยู่ที่ปีละ 1.3 ล้านเยน ครับ) และในขณะนั้น มีอาชีพนักแปล และ โรงพิมพ์เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากแล้วครับ ทำให้การแปลอย่างเป็นกิจลักษณะโดยทำผ่านรัฐบาลนั้น ไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป โดยเล่มสุดท้ายที่คณะกรรมการนี้แปลคือ คัมภีร์อัล-กุรอาน ฉบับภาษาญี่ปุ่น ที่เสร็จสิ้นในปี 1906 และใช้เป็นฉบับมาตรฐานในญี่ปุ่นครับ
แต่ถึงกระนั้นก็ได้ แปลหนังสือไป 27200 เล่มครับ ซึ่งหนังสือเหล่านี้ จะช่วยพัฒนาญี่ปุ่น เพราะมันจะเป็นฐานต่อการวิจัยสิ่งต่างๆ อันนำไปสู่การพัฒนาช่วงเมจิ และต่อเนื่องมาถึง The miracle era ในช่วง ยุค 60-70 ด้วย
จะเห็นว่าทางญี่ปุ่นยุคเมจิมีการลงทุน แปลตำราวิชาการต่างประเทศมาเป็นภาษาญี่ปุ่นให้คนญี่ปุ่นศึกษา เล่าเรียน แล้วของทางไทยปัจจุบันได้มีการแปลตำราอะไรพวกนี้บ้างรึยังครับ เพราะเท่าที่ทราบสมัย ร.5 พึ่งจะเริ่มอะไรใหม่ๆ จำนวนประชากรคนสยามอ่านออกเขียนได้มีจำนวนน้อยกว่าทางญี่ปุ่นอย่างเทียบกันไม่ติดเพราะทางญี่ปุ่นมีการก่อตั้งสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ https://ppantip.com/topic/39189487
แถมทุนทรัพก็น้อยกว่าทางญี่ปุ่นอย่างมากด้วยทำให้ในเวลานั้นไม่สามารถหาทุนในการแปลภาษาได้ ส่วนหนึ่งน่าจะมาจากการเสียกรุงครั้งที่ 2 ด้วยต้องเริ่มสะสมทุนใหม่ตั้งแต่กรุงธนบุรีเลย แถมจำนวนคนก็น้อยมากอีก หากเทียบกับประชากรของญี่ปุ่น