https://twcbgh15.blogspot.com/2020/09/19.html
เราทราบกันแล้วว่า ทั้งโรค sars,mers..( SARS- CoV- 1)มีความรุนแรงของโรคอย่างมากในระยะแรก มีอัตราการติดเชื้อ อัตราการตายสูง แต่ในท้ายที่สุดมันก็หายไปจากโลกนี้เองทั้งที่ยังไม่มีวัคซีนผลิตขึ้นมาใช้
ครั้งนี้ covid 19 เป็นไวรัสสายพันธ์(SAR-CoV-2) น้องของโรคทั้งสองที่มีมาก่อน..ประวัติศาสตร์น่าจะพอจะบอกได้ว่าความรุนแรงของโรคมันจะค่อยๆลดลงไปเองโดยธรรมชาติของไวรัสที่กลายพันธุ์ อ่อนแอลง รวมทั้งระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ที่จะพัฒนาต่อต้านมันได้โดยธรรมชาติ (Herd Immunity) แล้วเราจะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ได้อย่างไรล่ะครับ
คำตอบน่าจะเป็น..ระบบภูมิคุ้มกัน memory T cell (เม็ดเลือดขาวที่จดจำการสร้างภูมิต่อต้านเชื้อโรค)ที่กำลังศึกษากันอยู่จะไขปริศนานี้ครับ
เม็ดเลือดขาวที่เกี่ยวกับการสร้างภูมิต้านทานโรค คือ Lymphocyte มี 2ชนิด คือ
1. B Lymphocyte มีหน้าที่สร้างภุมิต้านทานโรค( Antibody)
2. T Lymphocyte มี 2ชนิด
2.1 T Helper cell( CD4+) เป็นตัวช่วยกระตุ้นให้ B Lymphocyte สร้าง antibody
2.2 T Killer cell (CD8+) เป็นตัวจับทำลายเชื้อโรคโดยตรง
แต่ในระบบT cell หลังจากมีการทำงานตามขั้นตอนข้างต้นแล้ว ยังมีการจดจำชนิดเฉพาะ ของเชื้อโรต เก็บไว้ใน Memory T cell อยู่ในร่างกายหลายๆปี ซึ่งเมื่อมีการติดเชื้อซ้ำ จะมีการสร้างภูมิต้านทาน ( Antibody) ขึ้นมาอีกได้อย่างรวดเร็ว แม้ในตอนที่ติดเชื้อซ้ำจะไม่มี Antibody เหลืออยู่ในร่างกายเลย แต่ร่างกายก็จะไม่มีอาการป่วยเกิดขันอีก
https://www.medscape.com/viewarticle/936180
คนที่หายจากโรคcovid จะมี Antibody ในช่วงหลายอาทิตย์ หรือหลายเดือน แต่หลังจากนั้นก็จะหมดไปแต่ Memory T cell ที่จดจำระบบการสร้างภูมิต้านทานฆ่าเชื้อโรคมันได้อยู่หลายเดือน หรือหลายปี ย้ำนะครับหลายปี ถึงจะมีการติดเชื้อซ้ำ โดยไม่มีAntibody เหลืออยุ่เลย ก็อาจจะมีอาการน้อยมาก หรือไม่มีอาการเลยครับ จะไม่มีการแพร่เชื้อได้อีก แม้จะตรวจ เจอเศษซาก COVID 19 จาก การตรวจ RT-PCR เป็นผลบวกก็ตาม
ในคนที่ไม่เคยติดเชื้อcovid มาก่อนก็มีการตรวจพบ Memory T cell ชนิดนี้ เชื่อกันว่าอาจจะเเกิดจาก
1. เคยได้รับเชื้อ SARS-CoV-1 ตั้งแต่สมัยSARS, MERS (ตั้งแต่ ปี2003, 2004 เกือบ17 ปี ผมว่ามันนานไปหน่อย)
2. ได้รับเชื้อไข้หวัดธรรมดา สายพันธุ์ corona ชนิดอื่น 4 ชนิด
3. ได้รับ เชื้อBetacorona virus จากสัตว์ พวก วัว สุนัข ค้างคาว สัตว์จำพวกกระรอก(Rodent)
ที่ได้รับเข้าไปเป็นตัวกระตุ้น Memory T cell แล้วมี การกระตุ้นภูมิข้ามไปยังเชื้อที่มีลักษณะใกล้เคียง(cross reaction)ในการป้องกัน covid 19(เป็นcorona virusเหมือนกัน)ได้ด้วยจึงเป็นเหตุให้ความรุนแรงลดลง อาการก็ไม่มีหรือมีน้อย..ยกเว้นพวกที่มีโรคแทรกซ้อน คนสูงอายุ โรคเรื่อรัง จะมีภูมิต้านทานไม่ดีระบบการสร้างภูมิคุ้มกัน ทั้งB cell และ T cell ก็จะไม่สมบูรณ์เลยมีอาการรุนแรงถึงตายได้
https://www.nature.com/articles/d41586-020-02400-7
https://bionewscentral.com/mild-covid-19-cases-can-produce-strong-t-cell-response/
https://www.nih.gov/news-events/nih-research-matters/immune-cells-common-cold-may-recognize-sars-cov-2
Memory T-cellsตรวจพบระดับสูงมากหลังติดเชื้อโควิด 19 ทั้งที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย แม้กระทั่งสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วย(Natural Exposed to SARS CoV2) ก็ตรวจพบเช่นกัน
https://www.nih.gov/news-events/nih-research-matters/immune-cells-common-cold-may-recognize-sars-cov-2
ส่วนการติดตามดูวัคซีน COVID19 ถึงตอนนี้ เริ่มมีการมุ่งเน้นไปทาง พัฒนา Memory T cell กันมากขึ้น ในสัตว์ทดลองเริ่มมีความหวัง ( DNA vaccine ในหนูทดลอง) แต่ยังไม่มีวี่แววในคนเลยนะครับ ถึงแม้บางบริษัท(Astrazeneca,AZD1222 )มีการพูดถึงการกระตุ้น Neutralising Antibody ได้สูงถึง91% หลังจากฉีดเข็มแรก( แต่อยู่ได้ไม่นานพอต้องฉีดเข็มสอง) และ 100%หล้งจากฉีดเข็มสอง แต่รายละเอียดของการกระตุ้น Memory T cell ไม่มีพูดถึง อัพเดทข้อมูลวัคซีนในตอนนี้ผมยังไม่แน่ใจในเรื่องการกระตุ้น memory t-cellได้..อย่างมีประสิทธิภาพดีพอ ( mRNA-1273 (Moderna) 0.2%; BNT162b1 (Biontech/Pfizer) 0.4%; AZD1222 (Astrazeneca) 0.7%,)
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7115633/
https://www.evaluate.com/vantage/articles/news/trial-results/covid-19-vaccine-contest-turns-t-cell-responses
Vaccine. Covid..อาจไม่ใช่คำตอบที่จะจัดการกับการระบาดของCOVID19 ได้ดีพอ..นะครับ..จากประสิทธิภาพของวัคซีนเองที่ยังไม่ชัดเจนในการป้องกันระยะยาว และ การจัดสรรวัคซีนให้ประเทศไทย ประเด็นที่สำคัญ เราจะได้รับวัคซีนกันเมื่อไร คงอีกนานครับ จากสาเหตุ
1. ประเทศใหญ่ๆ เขาจองวัคซีนไว้จำนวนมหาศาลให้คนที่ประเทศเขาฉีดแล้วกับบริษัทผลิตวัคซีนใหญ่ๆ
2. ความเร่งด่วนในการช่วยเหลือ ประเทศที่สถานการณ์ ที่แย่กว่าเรา
3. ถ้าจะฉีดเพื่อให้การระบาดของโรคหมดไป วัคซีนต้องมีประสิทธิภาพ อย่างน้อย 70%และต้องฉีดในประชากร100% เราจะมีงบประมาณจัดสรรได้ไหม
ดังนั้นการผ่อนคลายให้มี Herd immunity..ที่ควบคุมอัตราการตาย..การเจ็บป่วยรุนแรงไม่ให้เกินกำลังของรพ.ที่จะรองรับได้..(scenario ที่2ของการจัดการกับโรคระบาด..แต่ไทยใช้แบบที่3.ไม่ให้มีการติดเชื้อในชุมชนเลยหวังพึ่งวัคซีนแก้ปัญหา)..น่าจะเป็นวิธีจัดการกับcovid19ได้ในระยะยาวนะครับ..การศึกษาลงลึกใน memory t-cellต่อเชื้อSARS CoV2น่าจะเป็นกลไกของการควบคุม covid อย่างถาวร
มีตัวอย่างที่แอฟริกา ซึ่งมีบริการสาธารณสุขที่แย่ ประชาการแออัด อาชีวอนามัยก็ไม่ดี แต่ตอนนี้ สถานการณ้ดีขึ้นจนน่าแปลกใจ โดยส่วนตัวเชื่อว่าน่าจะมาจากherd immunity ในกลุ่มหนุ่มสาว..เป็นปัจจัยหลัก
https://www.worldometers.info/coronavirus/country/south-africa/
ในที่สุด Herd immunity..น่าจะเป็นคำตอบของการควบคุมCOVID19 อย่างถาวร.อยู่ได้หลายปี.ไม่ใช่วัคซีนครับ..ที่มีผลต่อป้องกันได้ไม่กี่เดือน
คงต้องให้ตัวแทนคนหนุ่มสาวอายุน้อยที่แข็งแรงติดเชื้อสร้าง herd immunityกันไปนะครับ
ส่วนพวกเราสูงวัย..คนที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังต่างๆ..หรือภูมิต้านทานบกพร่องคงต้องป้องกันตัวกันให้ดีระวังการติดเชื้อ และรอการฉีดวัคซีนกันทุกปีล่ะครับ..เหมือนฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่..แต่ไม่รู้จะให้ฉีด 2 ครั้งด้วยหรือเปล่า
Teddy Lim.
September 8, 2020
วัคซีน โควิด19 ณ.เวลานี้ อาจไม่ใช่สิ่งที่เราคาดหวังให้การระบาดจบลงได้
เราทราบกันแล้วว่า ทั้งโรค sars,mers..( SARS- CoV- 1)มีความรุนแรงของโรคอย่างมากในระยะแรก มีอัตราการติดเชื้อ อัตราการตายสูง แต่ในท้ายที่สุดมันก็หายไปจากโลกนี้เองทั้งที่ยังไม่มีวัคซีนผลิตขึ้นมาใช้
ครั้งนี้ covid 19 เป็นไวรัสสายพันธ์(SAR-CoV-2) น้องของโรคทั้งสองที่มีมาก่อน..ประวัติศาสตร์น่าจะพอจะบอกได้ว่าความรุนแรงของโรคมันจะค่อยๆลดลงไปเองโดยธรรมชาติของไวรัสที่กลายพันธุ์ อ่อนแอลง รวมทั้งระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ที่จะพัฒนาต่อต้านมันได้โดยธรรมชาติ (Herd Immunity) แล้วเราจะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ได้อย่างไรล่ะครับ
คำตอบน่าจะเป็น..ระบบภูมิคุ้มกัน memory T cell (เม็ดเลือดขาวที่จดจำการสร้างภูมิต่อต้านเชื้อโรค)ที่กำลังศึกษากันอยู่จะไขปริศนานี้ครับ
เม็ดเลือดขาวที่เกี่ยวกับการสร้างภูมิต้านทานโรค คือ Lymphocyte มี 2ชนิด คือ
1. B Lymphocyte มีหน้าที่สร้างภุมิต้านทานโรค( Antibody)
2. T Lymphocyte มี 2ชนิด
2.1 T Helper cell( CD4+) เป็นตัวช่วยกระตุ้นให้ B Lymphocyte สร้าง antibody
2.2 T Killer cell (CD8+) เป็นตัวจับทำลายเชื้อโรคโดยตรง
แต่ในระบบT cell หลังจากมีการทำงานตามขั้นตอนข้างต้นแล้ว ยังมีการจดจำชนิดเฉพาะ ของเชื้อโรต เก็บไว้ใน Memory T cell อยู่ในร่างกายหลายๆปี ซึ่งเมื่อมีการติดเชื้อซ้ำ จะมีการสร้างภูมิต้านทาน ( Antibody) ขึ้นมาอีกได้อย่างรวดเร็ว แม้ในตอนที่ติดเชื้อซ้ำจะไม่มี Antibody เหลืออยู่ในร่างกายเลย แต่ร่างกายก็จะไม่มีอาการป่วยเกิดขันอีก
https://www.medscape.com/viewarticle/936180
คนที่หายจากโรคcovid จะมี Antibody ในช่วงหลายอาทิตย์ หรือหลายเดือน แต่หลังจากนั้นก็จะหมดไปแต่ Memory T cell ที่จดจำระบบการสร้างภูมิต้านทานฆ่าเชื้อโรคมันได้อยู่หลายเดือน หรือหลายปี ย้ำนะครับหลายปี ถึงจะมีการติดเชื้อซ้ำ โดยไม่มีAntibody เหลืออยุ่เลย ก็อาจจะมีอาการน้อยมาก หรือไม่มีอาการเลยครับ จะไม่มีการแพร่เชื้อได้อีก แม้จะตรวจ เจอเศษซาก COVID 19 จาก การตรวจ RT-PCR เป็นผลบวกก็ตาม
ในคนที่ไม่เคยติดเชื้อcovid มาก่อนก็มีการตรวจพบ Memory T cell ชนิดนี้ เชื่อกันว่าอาจจะเเกิดจาก
1. เคยได้รับเชื้อ SARS-CoV-1 ตั้งแต่สมัยSARS, MERS (ตั้งแต่ ปี2003, 2004 เกือบ17 ปี ผมว่ามันนานไปหน่อย)
2. ได้รับเชื้อไข้หวัดธรรมดา สายพันธุ์ corona ชนิดอื่น 4 ชนิด
3. ได้รับ เชื้อBetacorona virus จากสัตว์ พวก วัว สุนัข ค้างคาว สัตว์จำพวกกระรอก(Rodent)
ที่ได้รับเข้าไปเป็นตัวกระตุ้น Memory T cell แล้วมี การกระตุ้นภูมิข้ามไปยังเชื้อที่มีลักษณะใกล้เคียง(cross reaction)ในการป้องกัน covid 19(เป็นcorona virusเหมือนกัน)ได้ด้วยจึงเป็นเหตุให้ความรุนแรงลดลง อาการก็ไม่มีหรือมีน้อย..ยกเว้นพวกที่มีโรคแทรกซ้อน คนสูงอายุ โรคเรื่อรัง จะมีภูมิต้านทานไม่ดีระบบการสร้างภูมิคุ้มกัน ทั้งB cell และ T cell ก็จะไม่สมบูรณ์เลยมีอาการรุนแรงถึงตายได้
https://www.nature.com/articles/d41586-020-02400-7
https://bionewscentral.com/mild-covid-19-cases-can-produce-strong-t-cell-response/
https://www.nih.gov/news-events/nih-research-matters/immune-cells-common-cold-may-recognize-sars-cov-2
Memory T-cellsตรวจพบระดับสูงมากหลังติดเชื้อโควิด 19 ทั้งที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย แม้กระทั่งสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วย(Natural Exposed to SARS CoV2) ก็ตรวจพบเช่นกัน
https://www.nih.gov/news-events/nih-research-matters/immune-cells-common-cold-may-recognize-sars-cov-2
ส่วนการติดตามดูวัคซีน COVID19 ถึงตอนนี้ เริ่มมีการมุ่งเน้นไปทาง พัฒนา Memory T cell กันมากขึ้น ในสัตว์ทดลองเริ่มมีความหวัง ( DNA vaccine ในหนูทดลอง) แต่ยังไม่มีวี่แววในคนเลยนะครับ ถึงแม้บางบริษัท(Astrazeneca,AZD1222 )มีการพูดถึงการกระตุ้น Neutralising Antibody ได้สูงถึง91% หลังจากฉีดเข็มแรก( แต่อยู่ได้ไม่นานพอต้องฉีดเข็มสอง) และ 100%หล้งจากฉีดเข็มสอง แต่รายละเอียดของการกระตุ้น Memory T cell ไม่มีพูดถึง อัพเดทข้อมูลวัคซีนในตอนนี้ผมยังไม่แน่ใจในเรื่องการกระตุ้น memory t-cellได้..อย่างมีประสิทธิภาพดีพอ ( mRNA-1273 (Moderna) 0.2%; BNT162b1 (Biontech/Pfizer) 0.4%; AZD1222 (Astrazeneca) 0.7%,)
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7115633/
https://www.evaluate.com/vantage/articles/news/trial-results/covid-19-vaccine-contest-turns-t-cell-responses
Vaccine. Covid..อาจไม่ใช่คำตอบที่จะจัดการกับการระบาดของCOVID19 ได้ดีพอ..นะครับ..จากประสิทธิภาพของวัคซีนเองที่ยังไม่ชัดเจนในการป้องกันระยะยาว และ การจัดสรรวัคซีนให้ประเทศไทย ประเด็นที่สำคัญ เราจะได้รับวัคซีนกันเมื่อไร คงอีกนานครับ จากสาเหตุ
1. ประเทศใหญ่ๆ เขาจองวัคซีนไว้จำนวนมหาศาลให้คนที่ประเทศเขาฉีดแล้วกับบริษัทผลิตวัคซีนใหญ่ๆ
2. ความเร่งด่วนในการช่วยเหลือ ประเทศที่สถานการณ์ ที่แย่กว่าเรา
3. ถ้าจะฉีดเพื่อให้การระบาดของโรคหมดไป วัคซีนต้องมีประสิทธิภาพ อย่างน้อย 70%และต้องฉีดในประชากร100% เราจะมีงบประมาณจัดสรรได้ไหม
ดังนั้นการผ่อนคลายให้มี Herd immunity..ที่ควบคุมอัตราการตาย..การเจ็บป่วยรุนแรงไม่ให้เกินกำลังของรพ.ที่จะรองรับได้..(scenario ที่2ของการจัดการกับโรคระบาด..แต่ไทยใช้แบบที่3.ไม่ให้มีการติดเชื้อในชุมชนเลยหวังพึ่งวัคซีนแก้ปัญหา)..น่าจะเป็นวิธีจัดการกับcovid19ได้ในระยะยาวนะครับ..การศึกษาลงลึกใน memory t-cellต่อเชื้อSARS CoV2น่าจะเป็นกลไกของการควบคุม covid อย่างถาวร
มีตัวอย่างที่แอฟริกา ซึ่งมีบริการสาธารณสุขที่แย่ ประชาการแออัด อาชีวอนามัยก็ไม่ดี แต่ตอนนี้ สถานการณ้ดีขึ้นจนน่าแปลกใจ โดยส่วนตัวเชื่อว่าน่าจะมาจากherd immunity ในกลุ่มหนุ่มสาว..เป็นปัจจัยหลัก
https://www.worldometers.info/coronavirus/country/south-africa/
ในที่สุด Herd immunity..น่าจะเป็นคำตอบของการควบคุมCOVID19 อย่างถาวร.อยู่ได้หลายปี.ไม่ใช่วัคซีนครับ..ที่มีผลต่อป้องกันได้ไม่กี่เดือน
คงต้องให้ตัวแทนคนหนุ่มสาวอายุน้อยที่แข็งแรงติดเชื้อสร้าง herd immunityกันไปนะครับ
ส่วนพวกเราสูงวัย..คนที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังต่างๆ..หรือภูมิต้านทานบกพร่องคงต้องป้องกันตัวกันให้ดีระวังการติดเชื้อ และรอการฉีดวัคซีนกันทุกปีล่ะครับ..เหมือนฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่..แต่ไม่รู้จะให้ฉีด 2 ครั้งด้วยหรือเปล่า
Teddy Lim.
September 8, 2020