ขอเชิญผู้ที่มีอายุมากกว่า 18 ปีขึ้นไปซึ่งไม่ได้เป็นบุคลากรทางการแพทย์ ร่วมตอบแบบสอบถามงานวิจัยในหัวข้อ "การศึกษาคุณสมบัติของมาตรวัดภาวะหมดไฟในการทำงานสำหรับบุคคลทั่วไป: การสำรวจระดับชาติในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019"
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSfDCL8GKdFEyaJKmelgNuW6KcL9OJHm3NiHYi2LpSdNeSXsLQ/viewform
ภาวะหมดไฟในการทำงาน (burnout) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นจากความเครียดเรื้อรังในการทำงาน อาการหลักของภาวะหมดไฟแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่
1. ความอ่อนล้าทางอารมณ์ (emotional exhaustion) สภาวะที่บุคคลรู้สึกขาดพลังงานทางจิตใจ เหนื่อยล้าในการทำงาน
2. การลดความเป็นบุคคล (depersonalization) การมีทัศนคติเชิงลบต่อความสัมพันธ์ในที่ทำงาน อาจมีปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อร่วมงานหรือลูกค้า
3. ความรู้สึกสำเร็จส่วนบุคคลลดลง (lack of self-accomplishment) การขาดหรือลดความเชื่อมั่นในตนเองว่าจะสามารถทำงานให้ลุล่วงหรือประสบความสำเร็จได้
เอกสารอ้างอิง
1. Nuallaong W. Burnout symptoms and cycles of burnout: The comparison with psychiatric disorders and aspects of approaches.
In: Bährer-Kohler S, editor. Burnout for Experts. New York: Springer; 2013. p. 47-72.
2. Lee R, Ashforth B. On the meaning of Maslach’s three dimensions of burnout. J Appl Psychol. 1990;75:743-47
ภาวะหมดไฟในการทำงาน
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSfDCL8GKdFEyaJKmelgNuW6KcL9OJHm3NiHYi2LpSdNeSXsLQ/viewform
ภาวะหมดไฟในการทำงาน (burnout) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นจากความเครียดเรื้อรังในการทำงาน อาการหลักของภาวะหมดไฟแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่
1. ความอ่อนล้าทางอารมณ์ (emotional exhaustion) สภาวะที่บุคคลรู้สึกขาดพลังงานทางจิตใจ เหนื่อยล้าในการทำงาน
2. การลดความเป็นบุคคล (depersonalization) การมีทัศนคติเชิงลบต่อความสัมพันธ์ในที่ทำงาน อาจมีปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อร่วมงานหรือลูกค้า
3. ความรู้สึกสำเร็จส่วนบุคคลลดลง (lack of self-accomplishment) การขาดหรือลดความเชื่อมั่นในตนเองว่าจะสามารถทำงานให้ลุล่วงหรือประสบความสำเร็จได้
เอกสารอ้างอิง
1. Nuallaong W. Burnout symptoms and cycles of burnout: The comparison with psychiatric disorders and aspects of approaches.
In: Bährer-Kohler S, editor. Burnout for Experts. New York: Springer; 2013. p. 47-72.
2. Lee R, Ashforth B. On the meaning of Maslach’s three dimensions of burnout. J Appl Psychol. 1990;75:743-47