สงสัยเรื่องจุดเยือกแข็งในชีวิตประจำวันมากๆเลย อย่างเช่นการใส่เกลือลงไปในถังน้ำแข็ง เพื่อให้น้ำอัดลมที่อยู่ในหลอดนั้นแข็งตัวไวขึ้นกว่าปกติ หรือเป็นตัวที่ทำให้สารละลายนั้นมีจุดเยือกแข็งที่ต่ำลงไปอีก ซึ่งเราสงสัยว่า ระหว่าง น้ำอัดลมกับสารละลายเกลือ ทั้งสองอย่างนี้ควรจะให้ความเข้มข้นอะไรมากกว่ากัน (โดยส่วนตัวคิดว่าความเข้มข้นของเกลือจะต้องมากกว่า และความเข้มข้นของน้ำอัดลมจะต้องน้อยกว่า เพื่อให้จุดเยือกแข็งของสารบริสุทธิ์นั้นมีค่าสูงกว่าน้ำอัดลม ไม่รู้ว่าตัวเองคิดถูกไหม)
ส่วนกรณีที่สอง
ตามแถบที่มีหิมะตก ถ้าให้เลือกระหว่าง NaCl หรือ CaCl2 ควรจะเลือกสารใดให้มันได้ผลมากกว่า ส่วนตัวคิดว่าควรเลือก cacl2 เพราะน้ำหนักต่อ 1 Mol มันมีค่ามากกว่าคิดว่ามันน่าจะให้ผลมากกว่า แต่บางคนก็มาแย้งกับเราโดยเอาสูตรมาให้ดูคือสูตรนี้ เดลต้าTF=ikfm ซึ่ง i มันคือจำนวนไอออน ยิ่งมีค่ามากจะมีเดลต้าที่มาก โดยที่ m ของสารใดๆที่เท่ากันย่อมมีค่าจุดเดือดจุดหลอมเหลวเท่ากันอยู่แล้ว (ว่าแต่นับรวมจุดเยือกแข็งด้วยมั้ยอันนี้ไม่ทราบ) มีใครพออธิบายเสริมเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจหรืออิงจากสูตรให้ได้ไหม
ปกติในชั้นเรียนม.ปลายแรก จะให้รู้จักกับแค่สูตร เดลต้าT=Km(ไม่มี I หรือการแตกตัวเป็นไอออนนะ)
ส่วนอีกอย่างนึงเป็นเรื่องที่สงสัยในสูตรคือ ทำไมสารละลายที่มี m เท่ากัน ถึงมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดเท่ากัน
จุดเยือกแข็ง
ส่วนกรณีที่สอง
ตามแถบที่มีหิมะตก ถ้าให้เลือกระหว่าง NaCl หรือ CaCl2 ควรจะเลือกสารใดให้มันได้ผลมากกว่า ส่วนตัวคิดว่าควรเลือก cacl2 เพราะน้ำหนักต่อ 1 Mol มันมีค่ามากกว่าคิดว่ามันน่าจะให้ผลมากกว่า แต่บางคนก็มาแย้งกับเราโดยเอาสูตรมาให้ดูคือสูตรนี้ เดลต้าTF=ikfm ซึ่ง i มันคือจำนวนไอออน ยิ่งมีค่ามากจะมีเดลต้าที่มาก โดยที่ m ของสารใดๆที่เท่ากันย่อมมีค่าจุดเดือดจุดหลอมเหลวเท่ากันอยู่แล้ว (ว่าแต่นับรวมจุดเยือกแข็งด้วยมั้ยอันนี้ไม่ทราบ) มีใครพออธิบายเสริมเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจหรืออิงจากสูตรให้ได้ไหม
ปกติในชั้นเรียนม.ปลายแรก จะให้รู้จักกับแค่สูตร เดลต้าT=Km(ไม่มี I หรือการแตกตัวเป็นไอออนนะ)
ส่วนอีกอย่างนึงเป็นเรื่องที่สงสัยในสูตรคือ ทำไมสารละลายที่มี m เท่ากัน ถึงมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดเท่ากัน