บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ
อังกฤษปกครองอินเดียโดยปกครองผ่านการปกครองของบริษัทEast India หรือชาวอินเดียมักจะเรียกบริษัทนี้ว่ากัมปานีราช Company Raj เเต่ถึงอย่างนั้นอินเดียยังไม่เป็น British Raj นะฮะ อินเดียถูกปกครองโดยราชสำนักอังกฤษในปี 1858 ฮะ
ใน 1758 เกิดสงคราม 7 ปี ซึ่งอังกฤษเเละฝรั่งเศสเป็นคู่ขัดแย้งกันฮะ อังกฤษได้ทำการยึดเเคว้นเบงกอลของจักรวรรดิโมกุลอย่างง่ายดาย ทำให้จักรพรรดิเเห่งโมกุล คิดว่านาวับ(คำเรียกราชาเเห่งเเคว้นเบงกอล)ว่าขายชาติ เเคว้นเบงกอลคือเเคว้นที่มั่งคั่งที่สุดในอนุทวีปอินเดียฮะ(สมัยก่อนอินเดียไม่ได้เป็นรัฐชาติอย่างปัจจุบัน พึ่งจะมาเป็นตอนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คือปี ค.ศ.1947 หรือ พ.ศ.2490เองฮะ)
ยุทธการที่ปลาศีคือการต่อสู้ระหว่างอังกฤษ เเละฝรั่งเศสซึ่งคอยอยู่เบื้องหลังการบังคับบัญชาเเคว้นเบงกอล ผลที่ได้คือเบงกอลตกเป็นของราชอาณาจักรบริเตนใหญ่(ชื่อของสหราชอาณาจักรขณะนั้น) เเละทำให้เบงกอลซึ่งราชอาณาจักรฝรั่งเศสอยู่เบื้องหลังปราชัยอย่างพ่ายแพ้ฮะ.
ตัดตอนมาต่อฮะ...
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เเห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศสเเละนาวาร์
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เเห่งฝรั่งเศสใช้เงินอย่างหรูหราเเละฟุ่มเฟือยอย่างมาก ทำให้ประชาชนต้องการให้พระองค์หยุดพฤติกรรมเเบบนั้น จึงได้ทำการปฏิวัติฝรั่งเศสขึ้น คืออย่างที่รู้กันดีอยู่เเล้วว่าสุดท้ายกษัตริย์เมื่อขาดจากฐานอำนาจของประชาชนก็อยู่ไม่ได้ฮะ จนในที่สุดระบอบกษัตริย์เเบบเทวสิทธิ์ซึ่งได้รับโองการจากพระเจ้าให้มาปกครองมนุษย์ หรือคิดว่าการท้าทายกษัตริย์ถือว่าท้าทายพระเจ้าด้วยก็หมดไปจากฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ถูกประหารชีวิต เกิดการจลาจลทั่วฝรั่งเศส
การทลายคุกบัสตีย์เป็นหนึ่งในการปฏิบัติฝรั่งเศส
ด้วยเหตุนี้ทำให้ฝรั่งเศสเกิดความวุ่นวายฮะ นโปเลียน โบนาปาร์ต ได้ใช้ข้ออ้างในความวุ่นวายนี้เป็นข้ออ้างในสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส
จักรวรรดิฝรั่งเศสครั้งที่ 1 บางเขตนโปเลียนไม่ได้ยึดเอาเองนะฮะ เพียงเเต่มีอิทธิพลทางด้านทหาาเท่านั้นฮะ
จักรพรรดินโปเลียนเเห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส
.
.
.
ด้วยเหตุนี้เองทำให้อังกฤษได้รับผลกระทบน้อยมากเนื่องจากตั้งอยู่บนเกาะ การจะบุกมาต้องมาทางเรือเท่านั้น ส่วนประเทศที่อยู่บนเเผ่นดินใหญ่ต่างไดรับผลกระทบหมด ทำให้ไม่มีเวลาล่าอาณานิคมเหมือนอังกฤษ ส่วนอังกฤษเองก็ล่าอาณานิคมได้อย่างสบายใจ โดยเฉพาะอินเดียซึ่งกำลังเเตกเเยกอยู่ด้วย จึงทำให้เป็นนาทีทองของอังกฤษฮะ.

ลองสังเกตุดูฮะตอนปฏิวัติฝรั่งเศสนโปเลียนได้ทำการยึดประเทศต่างๆ ในยุโรปเเล้วฮะทั้งๆ ที่ยังไม่ได้สถาปนาพระองค์เองเป็นจักรพรรดิ ทำให้ชาติต่างๆ ในยุโรปต่างพากันละทิ้งอาณานิคมเเละสนใจประเทศตนเองเป็นหลัก เช่น สเปน พอผ่านสงครามนโปเลียนไปปั๊บอาณานิคมอันมากมายในทวีปอเมริกาหายไปเเทบหมดเลยฮะ พอชาติต่างๆ ไม่สนใจอาณานิคมเเล้ว เพราะต่างได้รับผลกระทบจากสงคราม ส่วนอังกฤษอยู่บนเกาะ ก็สบายสิฮะล่าอาณานิคมได้อย่างสบายใจ โดยในอินเดียทวีปต่างๆ ในยุโรปต่างหมายตาอยู่เเล้ว เเต่ตอนนั้นมันคงไม่มีใครสนใจหรอกครับนอกจากอังกฤษ ต่อมาอังกฤษเองก็เอิบงับได้หมดหลังสงครามนโปเลียนจบเพียงไม่กี่ปี.
.
.
.
(เดี๋ยวผมจะพูดถึงซีปอยนะครับเเต่ขอเกริ่นเอาไว้ก่อนฮะ.)
กบฏซีปอยเเห่งอินเดีย
อังกฤษปกครองอินเดียโดยปกครองผ่านการปกครองของบริษัทEast India หรือชาวอินเดียมักจะเรียกบริษัทนี้ว่ากัมปานีราช Company Raj เเต่ถึงอย่างนั้นอินเดียยังไม่เป็น British Raj นะฮะ อินเดียถูกปกครองโดยราชสำนักอังกฤษในปี 1858 ฮะ
ใน 1758 เกิดสงคราม 7 ปี ซึ่งอังกฤษเเละฝรั่งเศสเป็นคู่ขัดแย้งกันฮะ อังกฤษได้ทำการยึดเเคว้นเบงกอลของจักรวรรดิโมกุลอย่างง่ายดาย ทำให้จักรพรรดิเเห่งโมกุล คิดว่านาวับ(คำเรียกราชาเเห่งเเคว้นเบงกอล)ว่าขายชาติ เเคว้นเบงกอลคือเเคว้นที่มั่งคั่งที่สุดในอนุทวีปอินเดียฮะ(สมัยก่อนอินเดียไม่ได้เป็นรัฐชาติอย่างปัจจุบัน พึ่งจะมาเป็นตอนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คือปี ค.ศ.1947 หรือ พ.ศ.2490เองฮะ)
ยุทธการที่ปลาศีคือการต่อสู้ระหว่างอังกฤษ เเละฝรั่งเศสซึ่งคอยอยู่เบื้องหลังการบังคับบัญชาเเคว้นเบงกอล ผลที่ได้คือเบงกอลตกเป็นของราชอาณาจักรบริเตนใหญ่(ชื่อของสหราชอาณาจักรขณะนั้น) เเละทำให้เบงกอลซึ่งราชอาณาจักรฝรั่งเศสอยู่เบื้องหลังปราชัยอย่างพ่ายแพ้ฮะ.
ตัดตอนมาต่อฮะ...
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เเห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศสเเละนาวาร์
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เเห่งฝรั่งเศสใช้เงินอย่างหรูหราเเละฟุ่มเฟือยอย่างมาก ทำให้ประชาชนต้องการให้พระองค์หยุดพฤติกรรมเเบบนั้น จึงได้ทำการปฏิวัติฝรั่งเศสขึ้น คืออย่างที่รู้กันดีอยู่เเล้วว่าสุดท้ายกษัตริย์เมื่อขาดจากฐานอำนาจของประชาชนก็อยู่ไม่ได้ฮะ จนในที่สุดระบอบกษัตริย์เเบบเทวสิทธิ์ซึ่งได้รับโองการจากพระเจ้าให้มาปกครองมนุษย์ หรือคิดว่าการท้าทายกษัตริย์ถือว่าท้าทายพระเจ้าด้วยก็หมดไปจากฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ถูกประหารชีวิต เกิดการจลาจลทั่วฝรั่งเศส
การทลายคุกบัสตีย์เป็นหนึ่งในการปฏิบัติฝรั่งเศส
ด้วยเหตุนี้ทำให้ฝรั่งเศสเกิดความวุ่นวายฮะ นโปเลียน โบนาปาร์ต ได้ใช้ข้ออ้างในความวุ่นวายนี้เป็นข้ออ้างในสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส
จักรวรรดิฝรั่งเศสครั้งที่ 1 บางเขตนโปเลียนไม่ได้ยึดเอาเองนะฮะ เพียงเเต่มีอิทธิพลทางด้านทหาาเท่านั้นฮะ
จักรพรรดินโปเลียนเเห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส
.
.
.
ด้วยเหตุนี้เองทำให้อังกฤษได้รับผลกระทบน้อยมากเนื่องจากตั้งอยู่บนเกาะ การจะบุกมาต้องมาทางเรือเท่านั้น ส่วนประเทศที่อยู่บนเเผ่นดินใหญ่ต่างไดรับผลกระทบหมด ทำให้ไม่มีเวลาล่าอาณานิคมเหมือนอังกฤษ ส่วนอังกฤษเองก็ล่าอาณานิคมได้อย่างสบายใจ โดยเฉพาะอินเดียซึ่งกำลังเเตกเเยกอยู่ด้วย จึงทำให้เป็นนาทีทองของอังกฤษฮะ.
ลองสังเกตุดูฮะตอนปฏิวัติฝรั่งเศสนโปเลียนได้ทำการยึดประเทศต่างๆ ในยุโรปเเล้วฮะทั้งๆ ที่ยังไม่ได้สถาปนาพระองค์เองเป็นจักรพรรดิ ทำให้ชาติต่างๆ ในยุโรปต่างพากันละทิ้งอาณานิคมเเละสนใจประเทศตนเองเป็นหลัก เช่น สเปน พอผ่านสงครามนโปเลียนไปปั๊บอาณานิคมอันมากมายในทวีปอเมริกาหายไปเเทบหมดเลยฮะ พอชาติต่างๆ ไม่สนใจอาณานิคมเเล้ว เพราะต่างได้รับผลกระทบจากสงคราม ส่วนอังกฤษอยู่บนเกาะ ก็สบายสิฮะล่าอาณานิคมได้อย่างสบายใจ โดยในอินเดียทวีปต่างๆ ในยุโรปต่างหมายตาอยู่เเล้ว เเต่ตอนนั้นมันคงไม่มีใครสนใจหรอกครับนอกจากอังกฤษ ต่อมาอังกฤษเองก็เอิบงับได้หมดหลังสงครามนโปเลียนจบเพียงไม่กี่ปี.
.
.
.
(เดี๋ยวผมจะพูดถึงซีปอยนะครับเเต่ขอเกริ่นเอาไว้ก่อนฮะ.)