กินแล้วช่วนให้ ไม่ติด COVID - 19 รู้จักสิ่งนี้จะไม่ทำให้อดตาย ถ้าติดป่า
1. ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาบำรุงร่างกาย (ใบ)
2. ผลใช้กินเป็นยาแก้อ่อนเพลีย (ผล)
3. แก่นหรือรากใช้กินเป็นยาแก้ตานขโมย (แก่น, ราก)
4. ใช้เป็นยาแก้อหิวาตกโรค (น้ำยางจากต้น)
5. น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาแก้ไข้แก้ไอ (ใบ)
6. หนามมีรสฝาดขึ้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้แก้ไข้พิษไข้กาฬลดความร้อนแก้พิษฝีต่าง ๆ (หนาม)
7. น้ำยางจากต้นและใบสดใช้กินเป็นยาลดไข้สำหรับเด็กแก้อาการไอ (น้ำยางจากต้นและใบสด)
8. น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาขับเสมหะ (ใบ) 9. แก่นมีรสฝาดขึ้นใช้ต้มน้ำดื่มเป็นยาขับเหงื่อ (แก่น)
10. เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้เสียงแห้งนำเปลือกมาแช่หรือชงเป็นยากลั้วคอแก้เจ็บคอ (เปลือกต้น)
11. ช่วยแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน (ผล)
12. น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาแก้หืดหอบหลอดลมอักเสบ (ใบ)
13. รากมีรสหวานฝาดร้อนใช้กินเป็นยาแก้โรคปอดบวม (ราก)
14. น้ำยางจากต้นและใบสดใช้เป็นยาแก้โรคปอดอักเสบ (น้ำยางจากต้นและใบสด)
15. ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาขับลม (ใบ)
16. ใช้เป็นยาแก้บิดและท้องเสีย (น้ำยางจากต้นและใบสด)
17. แก่นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ท้องร่วงบิดมูกเลือด (แก่น) [1] หรือใช้ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็น
18. เปลือกต้นนำมาตำรวมกับน้ำมันใช้ทาถูนวดแก้ปวดท้อง (เปลือกต้น)
19. ตำรายาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานีจะใช้แก่นตะขบป่านำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ผิดสำแดง (แก่น)
20. ผลมีสรรพคุณเป็นยาระบาย (ผล)
21. น้ำยางจากต้นและใบสดมีสรรพคุณในการช่วยย่อยอาหาร (น้ำยางจากต้นและใบสด)
22. ใช้เป็นยาขับพยาธิไส้เดือน (แก่น, ราก) 23. ใบนำมาย่างไฟจนแห้งใช้ชงกินหลังการคลอดบุตรของสตรี (ใบ)
24. ตำรายาพื้นบ้านอีสานจะใช้แก่นหรือรากตะขบป่า 1 กำมือนำมาต้มกับน้ำพอท่วมยาใช้ดื่มวันละ 3-5 ครั้งเป็นยาแก้โรคไตพิการ (แก่น, ราก)
25. รากใช้กินเป็นยาแก้ไตอักเสบ (ราก)
26. ผลมีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการของโรคดีซ่านม้ามโต (ผล)
27. น้ำต้มใบแห้งใช้กินเป็นยาฝาดสมาน (ใบ)
28. ลำต้นใช้ผสมกับหัวเอื้องหมายนาผักแว่นทั้งต้นและหอยขมเป็น ๆ 3-4 ตัวนำมาแช่น้ำให้เด็กอาบเป็นยาแก้อีสุกอีใสอีดำอีแดง (ลำต้น) [1]
29. แก่นใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้โรคผิวหนังประดงผื่นคัน (แก่น, ราก, ทั้งต้น)
30. เปลือกต้นนำตำรวมกับน้ำมันใช้ทาถูนวดแก้คัน (เปลือกต้น)
31. แก่นตะขบป่าใช้เข้ายากับแก่นมะสังหนามแท่งและเบนน้ำนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดเมื่อยแก้คัน (แก่น) ส่วนชาวกะเหรี่ยงแดงจะใช้รากนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดเมื่อย (ราก)
32. เมล็ดใช้ตำพอกแก้ปวดข้อ (เมล็ด)
33. รากมีสรรพคุณเป็นยาบำรุงน้ำนม (ราก)
#ลูกตะขบป่า #ประโชยน์ลูกตะขบป่า #Flacourtiaindica
ใครเคยกินลูกนี้บาง.? ลูกตะขบป่า คลึงแล้วหวานจริงหรอ..? มีประโยนช์ ยังไง. Flacourtia indica Burm f Merr
1. ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาบำรุงร่างกาย (ใบ)
2. ผลใช้กินเป็นยาแก้อ่อนเพลีย (ผล)
3. แก่นหรือรากใช้กินเป็นยาแก้ตานขโมย (แก่น, ราก)
4. ใช้เป็นยาแก้อหิวาตกโรค (น้ำยางจากต้น)
5. น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาแก้ไข้แก้ไอ (ใบ)
6. หนามมีรสฝาดขึ้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้แก้ไข้พิษไข้กาฬลดความร้อนแก้พิษฝีต่าง ๆ (หนาม)
7. น้ำยางจากต้นและใบสดใช้กินเป็นยาลดไข้สำหรับเด็กแก้อาการไอ (น้ำยางจากต้นและใบสด)
8. น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาขับเสมหะ (ใบ) 9. แก่นมีรสฝาดขึ้นใช้ต้มน้ำดื่มเป็นยาขับเหงื่อ (แก่น)
10. เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้เสียงแห้งนำเปลือกมาแช่หรือชงเป็นยากลั้วคอแก้เจ็บคอ (เปลือกต้น)
11. ช่วยแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน (ผล)
12. น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาแก้หืดหอบหลอดลมอักเสบ (ใบ)
13. รากมีรสหวานฝาดร้อนใช้กินเป็นยาแก้โรคปอดบวม (ราก)
14. น้ำยางจากต้นและใบสดใช้เป็นยาแก้โรคปอดอักเสบ (น้ำยางจากต้นและใบสด)
15. ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาขับลม (ใบ)
16. ใช้เป็นยาแก้บิดและท้องเสีย (น้ำยางจากต้นและใบสด)
17. แก่นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ท้องร่วงบิดมูกเลือด (แก่น) [1] หรือใช้ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็น
18. เปลือกต้นนำมาตำรวมกับน้ำมันใช้ทาถูนวดแก้ปวดท้อง (เปลือกต้น)
19. ตำรายาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานีจะใช้แก่นตะขบป่านำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ผิดสำแดง (แก่น)
20. ผลมีสรรพคุณเป็นยาระบาย (ผล)
21. น้ำยางจากต้นและใบสดมีสรรพคุณในการช่วยย่อยอาหาร (น้ำยางจากต้นและใบสด)
22. ใช้เป็นยาขับพยาธิไส้เดือน (แก่น, ราก) 23. ใบนำมาย่างไฟจนแห้งใช้ชงกินหลังการคลอดบุตรของสตรี (ใบ)
24. ตำรายาพื้นบ้านอีสานจะใช้แก่นหรือรากตะขบป่า 1 กำมือนำมาต้มกับน้ำพอท่วมยาใช้ดื่มวันละ 3-5 ครั้งเป็นยาแก้โรคไตพิการ (แก่น, ราก)
25. รากใช้กินเป็นยาแก้ไตอักเสบ (ราก)
26. ผลมีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการของโรคดีซ่านม้ามโต (ผล)
27. น้ำต้มใบแห้งใช้กินเป็นยาฝาดสมาน (ใบ)
28. ลำต้นใช้ผสมกับหัวเอื้องหมายนาผักแว่นทั้งต้นและหอยขมเป็น ๆ 3-4 ตัวนำมาแช่น้ำให้เด็กอาบเป็นยาแก้อีสุกอีใสอีดำอีแดง (ลำต้น) [1]
29. แก่นใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้โรคผิวหนังประดงผื่นคัน (แก่น, ราก, ทั้งต้น)
30. เปลือกต้นนำตำรวมกับน้ำมันใช้ทาถูนวดแก้คัน (เปลือกต้น)
31. แก่นตะขบป่าใช้เข้ายากับแก่นมะสังหนามแท่งและเบนน้ำนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดเมื่อยแก้คัน (แก่น) ส่วนชาวกะเหรี่ยงแดงจะใช้รากนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดเมื่อย (ราก)
32. เมล็ดใช้ตำพอกแก้ปวดข้อ (เมล็ด)
33. รากมีสรรพคุณเป็นยาบำรุงน้ำนม (ราก)
#ลูกตะขบป่า #ประโชยน์ลูกตะขบป่า #Flacourtiaindica