คิดว่าพลังงานไฟฟ้านิวเคลียร์ตอนนี้จะหยุดเติบโตไหม? และ จะกลายเป็นพลังงานตัวเลือกให้ประเทศในแทบภูมิภาคอาเซียน และไทย ไหม? เพราะตอนนี้หลายโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ปิดไปหลายที่และมีแนวโน้มลดลง เช่นที่อเมริกามีรัฐแห่งหนึ่ง(จำชื่อไม่ได้)เปลี่ยนไปใช้พลังงานทดแทนคือกังหันลม และประเทศอื่นๆที่ดูเหมือนจะปิดและหยุดผลิตไปเรื่อย เพราะกระแสพลังงานทดแทนค่อนข้างมาแรงมากบวกกับการที่ไม่สามารถกำจัดกากนิวเคลียร์ที่มีพิษไม่ได้ ต้องเก็บการจัดการเป็นวาระแห่งชาติ(ความลับว่าจัดการยังไง)และมีข่าวออกมาได้สักพักว่าทางอเมริกาเร่งหาที่กักเก็บกากเพราะปกติทิ้งในภูเขาแบบการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ของทางเกาหลีเหนือในภูเขา แต่เป็นข้อพิพาทเพราะคนในรัฐต่างไม่อยากให้นำมาทิ้งในรัฐตนเอง ถึงจะมีมีเทคโนโลยีใหม่ที่เรียกว่า Fast Breeder Reactor ซึ่งเผาไหม้เชื้อเพลิงได้ดี และสมบูรณ์ขึ้นช่วยให้แท่งเชื้อเพลิงที่ใช้แล้ว ไม่เป็นพิษมากนัก แต่ก็ยังเหลือกากให้ทิ้งอยู่ดี ทางด้านอังกฤษนักวิทย์ก็ได้วิจัยและจะทำให้ได้เหมือนกับยิ่งนกสองตัว คือ เอากากนิวเคลียร์มาผลิตเป็น ''แบตเตอรี่เพชร'' ให้พลังงานนับ100ปี ถ้าทำได้จริงมูลค่าคงสูงมาก
พูดถึงทางด้านพลังงานทางเลือกที่มาแรงมากในหลายประเทศแทบยุโรป แดนมากเป็นประเทศแรกที่ใช้พลังงานทดแทน 100% โดยใช้ลม น้ำ แสงอาทิตย์ อาจจะไม่ได้ผลิตได้มากแต่พอใช้และเหลือในประเทศ บางเดือนอาจจะยังต้องพึ่งเพื่อนแทบนั้นเพราะลมแดดไม่ได้มาทุกวัน พลังงานกังหั่นลมคิดว่าจะใช้ได้ต้องดูสภาพภูมิประเทศอาศัยด้วยลมจากภารน้ำแข็ง และ ลมทะเล แต่ถ้าวันไหนไม่มีลมการผลิตก็จะเป็น0 ทันที่แต่กลับกันถ้ามองไปยังอนาคตการสร้างมอเตอร์ที่พัฒนาไปเรื่อยและการจะผลิตให้สามารถปั่นไฟฟ้าจากลมไปได้สูงขึ้น ทางด้านญป เคยมีวิจัยว่าจะอาศัยจากพายุทอร์นาโด ในการผลิต แต่ยังนึกไม่ออกจะมีรูปแบบไหนที่จะสามรถทนแรงลมที่พัดได้แม้กระทั่งบ้าน รถยนต์ ส่วนทางด้านแสงอาทิตย์เติบโตมากสุดในยุคนี้เติบโตถึง 17% โครงการฟาร์มโซลาร์เซลล์ ทรินา โซลาร์ของจีน ปัญหาด้านพลังงานนี้คือขยะแผงโซลาร์เซลที่อายุการใช้งาน25 ปี จะมีการลดทองรีไซเคิลรึเปล่าก็ไม่แน่ใจแต่ในอนาคตคาดว่าจะมีการจัดการได้แน่
ถ้ามองการเติบโตในด้านอาเซียนและไทยมองว่า อย่างเวียตนามที่กล สร้างแต่ยังขาดบุคคลากรทาลด้านนี้เพราะเป็นประเทศกล พัฒนาที่มาแรงและมีนโยบายเพิ่มไฟฟ้าในประเทศหลายเท่าตัว ร่วมถึงเขตโรงงานในอาเซียนที่กลายเป็นเขตอุสาหกรรม ในอนาคตอาจเป็นอีกที่ทีสำคัญ จึงต้องใช้พลังงานอย่างมาก บวกกับลดต้นทุนและดึงดูดนักลงทุนการมีค่าไฟที่ถูกก็เป็นอีกปัจจัย หากไม่มีภาคอุตสหกรรมจะตายทั้งอาเซียน รวมถึงปัญหาค่าไฟในประเทศไทยที่แหงจนหูฉีกในปัจจุบัน อากาศยิ่งร้อนค่าไฟ ยิ่งแพงไปเรื่อยๆ ส่วนตัวมองว่าพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชั่นคือคำตอบที่ดีคุ้มค่ามากที่สุดบวกกับการอายุการใช้งาน ไม่ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นปัญหา และยังช่วยในเรื่องการดักจับฝุ่น PM ที่ลอยตามอากาศด้วยละอองน้ำ หลายคนยังคงกังวลเรื่องของเชอบิล ยิ่งมาฉายในเนตฟลิคยิ่งทำให้กลัวกันไปใหญ่ และ นิวเคลียร์ ระเบิดฟุกุชิมะ ต้องบอกก่อนว่าที่มันจะระเบิดมันระเบิดเฉยๆเองไม่ได้ต้องมีปัจจัยอื่นญป ระเบิดเพราะเกิดภัยพิบัติ เชอร์บิลก็error human ซึ่งปัจจุบันพัฒนาไปไกลมากแล้วเรื่องของความปลอดภัย และเป็นไปได้ยากมากที่จะตั้งในไทยแค่ถ่านหินโรงเดียวก็ออกกันมาโดยไม่มีความรู้อะไร บ้าจี้ตามแกนนำที่ออกมาปล่อยข้อมูลเท็จวนเวียนยู่กับเชอร์บิล และ หลายคนเข้าใจผิดว่ามันคืออาวุธนิวเคลียร์ แต่เปล่าเลยธาตุนิวเคลียร์อยู่รอบตัวคุณอาศัยอยู่รอบแต่กลับไม่เคยนึกถึงมันมีประโยชน์มากกว่าโทษ ร่วมถึงกลัวว่าตั้งแล้วระบบนิเวศจะเสีย มองว่าคนล้ะประเด็นตรงที่กลัวว่าจะทำทะเลระบบนิเวศตายว่าการล่อเย็นใช้น้ำเพียงนิดเดียวการที่คุณเอาน้ำ1แก้วเทลงทะเลอุณหภูมิน้ำมันคงไม่เปลี่ยน ร่วมถึงกลัวแถวบ้านจะร้อนขึ้น(มีคนเคยพูด) ทางด้านจีน ได้ก้าวหน้าทดลองโครงการ “พระอาทิตย์จำลอง” ใช้หลักเตาปฏิกรณ์ ข้อเสียด้านพลังงานนิวเคลียร์นี้คือ ใช้เม็ดเงินมหาสาลในการดูแลความปลอดภัย และกำจัดกาก แต่ในอนาคตน่าจะมีวิธีที่รับมือได้เกือบ 100% ปัจจับันหลายประเทศต้องการลด ด้านน้ำมัน ปิโตรเลี่ยมที่เป็นปัญหา คาดว่าปี 2030 จะเหลือไม่ถึง 20% ส่วนในไทยตอนนี้พลังงานชีววะมวลกลมาแต่ก้ไม่ใช่พลังงานที่ดีมากนัก ถึงต้นทุนจะถูกแต่การผลิตที่น้อยแถมยังต้องอาศัยพืชตามฤดูกาล
อยากจะทราบว่ามีความคิดเห็นอย่างไรกับด้านพลังงานนิวเคลียร์และการเติบโตในอนาคต ร่วมถึงมีสิทธ์ไหมที่จะก่อตั้งแทบนี้ พลังงานด้านไหนที่มีดีกว่าถ้าเทียบเรื่องราคา การผลิต ทุน ?
พลังงานนิวเคลียร์คือพลังงานที่ตกยุค ?
พูดถึงทางด้านพลังงานทางเลือกที่มาแรงมากในหลายประเทศแทบยุโรป แดนมากเป็นประเทศแรกที่ใช้พลังงานทดแทน 100% โดยใช้ลม น้ำ แสงอาทิตย์ อาจจะไม่ได้ผลิตได้มากแต่พอใช้และเหลือในประเทศ บางเดือนอาจจะยังต้องพึ่งเพื่อนแทบนั้นเพราะลมแดดไม่ได้มาทุกวัน พลังงานกังหั่นลมคิดว่าจะใช้ได้ต้องดูสภาพภูมิประเทศอาศัยด้วยลมจากภารน้ำแข็ง และ ลมทะเล แต่ถ้าวันไหนไม่มีลมการผลิตก็จะเป็น0 ทันที่แต่กลับกันถ้ามองไปยังอนาคตการสร้างมอเตอร์ที่พัฒนาไปเรื่อยและการจะผลิตให้สามารถปั่นไฟฟ้าจากลมไปได้สูงขึ้น ทางด้านญป เคยมีวิจัยว่าจะอาศัยจากพายุทอร์นาโด ในการผลิต แต่ยังนึกไม่ออกจะมีรูปแบบไหนที่จะสามรถทนแรงลมที่พัดได้แม้กระทั่งบ้าน รถยนต์ ส่วนทางด้านแสงอาทิตย์เติบโตมากสุดในยุคนี้เติบโตถึง 17% โครงการฟาร์มโซลาร์เซลล์ ทรินา โซลาร์ของจีน ปัญหาด้านพลังงานนี้คือขยะแผงโซลาร์เซลที่อายุการใช้งาน25 ปี จะมีการลดทองรีไซเคิลรึเปล่าก็ไม่แน่ใจแต่ในอนาคตคาดว่าจะมีการจัดการได้แน่
ถ้ามองการเติบโตในด้านอาเซียนและไทยมองว่า อย่างเวียตนามที่กล สร้างแต่ยังขาดบุคคลากรทาลด้านนี้เพราะเป็นประเทศกล พัฒนาที่มาแรงและมีนโยบายเพิ่มไฟฟ้าในประเทศหลายเท่าตัว ร่วมถึงเขตโรงงานในอาเซียนที่กลายเป็นเขตอุสาหกรรม ในอนาคตอาจเป็นอีกที่ทีสำคัญ จึงต้องใช้พลังงานอย่างมาก บวกกับลดต้นทุนและดึงดูดนักลงทุนการมีค่าไฟที่ถูกก็เป็นอีกปัจจัย หากไม่มีภาคอุตสหกรรมจะตายทั้งอาเซียน รวมถึงปัญหาค่าไฟในประเทศไทยที่แหงจนหูฉีกในปัจจุบัน อากาศยิ่งร้อนค่าไฟ ยิ่งแพงไปเรื่อยๆ ส่วนตัวมองว่าพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชั่นคือคำตอบที่ดีคุ้มค่ามากที่สุดบวกกับการอายุการใช้งาน ไม่ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นปัญหา และยังช่วยในเรื่องการดักจับฝุ่น PM ที่ลอยตามอากาศด้วยละอองน้ำ หลายคนยังคงกังวลเรื่องของเชอบิล ยิ่งมาฉายในเนตฟลิคยิ่งทำให้กลัวกันไปใหญ่ และ นิวเคลียร์ ระเบิดฟุกุชิมะ ต้องบอกก่อนว่าที่มันจะระเบิดมันระเบิดเฉยๆเองไม่ได้ต้องมีปัจจัยอื่นญป ระเบิดเพราะเกิดภัยพิบัติ เชอร์บิลก็error human ซึ่งปัจจุบันพัฒนาไปไกลมากแล้วเรื่องของความปลอดภัย และเป็นไปได้ยากมากที่จะตั้งในไทยแค่ถ่านหินโรงเดียวก็ออกกันมาโดยไม่มีความรู้อะไร บ้าจี้ตามแกนนำที่ออกมาปล่อยข้อมูลเท็จวนเวียนยู่กับเชอร์บิล และ หลายคนเข้าใจผิดว่ามันคืออาวุธนิวเคลียร์ แต่เปล่าเลยธาตุนิวเคลียร์อยู่รอบตัวคุณอาศัยอยู่รอบแต่กลับไม่เคยนึกถึงมันมีประโยชน์มากกว่าโทษ ร่วมถึงกลัวว่าตั้งแล้วระบบนิเวศจะเสีย มองว่าคนล้ะประเด็นตรงที่กลัวว่าจะทำทะเลระบบนิเวศตายว่าการล่อเย็นใช้น้ำเพียงนิดเดียวการที่คุณเอาน้ำ1แก้วเทลงทะเลอุณหภูมิน้ำมันคงไม่เปลี่ยน ร่วมถึงกลัวแถวบ้านจะร้อนขึ้น(มีคนเคยพูด) ทางด้านจีน ได้ก้าวหน้าทดลองโครงการ “พระอาทิตย์จำลอง” ใช้หลักเตาปฏิกรณ์ ข้อเสียด้านพลังงานนิวเคลียร์นี้คือ ใช้เม็ดเงินมหาสาลในการดูแลความปลอดภัย และกำจัดกาก แต่ในอนาคตน่าจะมีวิธีที่รับมือได้เกือบ 100% ปัจจับันหลายประเทศต้องการลด ด้านน้ำมัน ปิโตรเลี่ยมที่เป็นปัญหา คาดว่าปี 2030 จะเหลือไม่ถึง 20% ส่วนในไทยตอนนี้พลังงานชีววะมวลกลมาแต่ก้ไม่ใช่พลังงานที่ดีมากนัก ถึงต้นทุนจะถูกแต่การผลิตที่น้อยแถมยังต้องอาศัยพืชตามฤดูกาล
อยากจะทราบว่ามีความคิดเห็นอย่างไรกับด้านพลังงานนิวเคลียร์และการเติบโตในอนาคต ร่วมถึงมีสิทธ์ไหมที่จะก่อตั้งแทบนี้ พลังงานด้านไหนที่มีดีกว่าถ้าเทียบเรื่องราคา การผลิต ทุน ?