เคยได้อ่านกันบ้างไหมคะ..เวลาศบค.แถลงตัวเลขผู้ติดเชื้อโควิดลดลงในแต่ละวัน หรือเป็นเลขหลักเดียวติดต่อกันมาหลายวัน ทำให้ผู้คนชื่นชมการทำงานของรัฐบาล และศบต. ที่รับมือเอาอยู่โควิด
ฝ่ายต้านรัฐบาลพยายามจะบอกว่า...ในเมื่อผู้ติดเชื้อลดลงก็ไม่ควรใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินอีกต่อไปเป็นการไม่เข้าใจการทำงานของศบค.ภายใต้พ.ร.บ.ฉุกเฉิน
มาดูพ.ร.ก.ฉุกเฉินที่ประกาศใช้กันค่ะ
https://news.thaipbs.or.th/content/290175
นายกฯแต่งตั้ง 6 หัวหน้าผู้รับผิดชอบในด้านต่างๆ ในศูนย์คุมระบาดโควิดในภาวะฉุกเฉิน
วันที่ 25 มีนาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เปิดเผยระหว่างในการแถลงการณ์ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทรท.) หรือ ทีวีพูล ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักร วันที่ 26 มีนาคม – 26 เมษายน 2563 ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ พรก. เพื่อควบคุมการระบาดของไวรัสโคโรนา
โดยหนึ่งในนั้นมีการยกระดับศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด19) ขึ้นมาเป็นหน่วยงานพิเศษ ที่มีนายกรัฐมนตรี เป็นผู้อำกวยการศูนย์ พร้อมกับแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละด้าน โดยคําสั่งดังกล่าวลงนาม โดยพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ระบุว่า คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2563 เรื่อง แต่งตั้งผู้กํากับการปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้รับผิดชอบและพนักงานเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 แล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 7 วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหก และมาตรา 15 แห่งพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 นายกรัฐมนตรีจึงมีคําสั่งดังต่อไปนี้
ข้อ 1 นายกรัฐมนตรีเป็นผู้กํากับการปฏิบัติงานของหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไข สถานการณ์ฉุกเฉิน พนักงานเจ้าหน้าที่ และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานตามประกาศสถานการณ์ ฉุกเฉิน
ข้อ 2 ให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยผู้กํากับการปฏิบัติงานของนายกรัฐมนตรีเรียง ตามลําดับการรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีตามที่มีคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรีไว้แล้ว และให้ปฏิบัติภารกิจ ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ข้อ 3 (๑) ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวกับการสาธารณสุขทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร
(๒) ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับการสั่งการและประสานกับผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
(๓) ให้ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมสินค้า
(๔) ให้ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวกับการต่างประเทศ และการคุ้มครองช่วยเหลือผู้มีสัญชาติไทยในต่างประเทศ
(๕) ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการ แก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวกับการสื่อสารโทรคมนาคม และสื่อสังคมออนไลน์
(๖) ให้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับความมั่นคง
(๗) ให้เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขาธิการ คณะรัฐมนตรี และปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ประสานงานทั่วไป
ข้อ 4 ให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินตามที่กำหนดไว้
ข้อ 3 มีหน้าที่และ อํานาจในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินตามที่กําหนดไว้ในพระราชกําหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์
ฉุกเฉิน พ.ศ. 2554 ในส่วนที่รับผิดขอบ และให้มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้
(๑) บังคับบัญชาและสั่งการส่วนราชการและข้าราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามที่กฎหมายกําหนดเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหาโควิด-19 ในส่วนที่รับผิดชอบ
(๒) ดําเนินการอื่นตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ในกรณีมีปัญหาคาบเกี่ยวกับความรับผิดชอบของแต่ละส่วนหรือปัญหาในการปฏิบัติ ให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินหรือผู้ประสานงานทั่วไปหารือกันเองหรือ รายงานเพื่อให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้ได้ข้อยุติโดยเร็ว
ข้อ 5 ให้ข้าราชการตํารวจ ข้าราชการทหาร และข้าราชการพลเรือน ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติ หน้าที่หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตท้องที่ตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าที่และอํานาจดําเนินการตามพระราชกําหนดการบริหาร ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ตลอดจนข้อกําหนด ประกาศ และคําสั่งที่ออกตามพระราช กําหนดดังกล่าว และเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่และอํานาจตามกฎหมายที่โอนมาเป็นหน้าที่และอํานาจของ นายกรัฐมนตรี เว้นแต่นายกรัฐมนตรีจะสั่งเป็นอย่างอื่น การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่หัวหน้าผู้รับผิดชอบใน การแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายกําหนด
ข้อ 6 ให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็น เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และมีหน้าที่และอํานาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เว้นแต่การใช้อํานาจสอบสวนต้องเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็น ข้าราชการตํารวจซึ่งมียศตั้งแต่ร้อยตํารวจตรีขึ้นไป ข้าราชการทหารซึ่งมียศตั้งแต่ร้อยตรี เรือตรี และเรืออากาศตรี ขึ้นไป หรือข้าราชการฝ่ายพลเรือนซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่ระดับปฏิบัติการขึ้นไป
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
การใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินทำให้การทำงานมีความเป็นเอกภาพ มีศบค.เป็นหน่วยงานพิเศษทำงานภายใต้อำนาจการสั่งการของนายกรัฐมนตรี
ทำให้ปัญหาต่างๆคลี่คลายลงไป
ตอนนี้ศบค.ประสบความสำเร็จในการรับมือโควิด19 แต่พ.ร.ก.ยังมีความจำเป็นที่ต้องใช้ไปอีกระยะหนึ่ง
พื่อป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของการแพร่เชื้อไวรัสรอบ 2 ไม่เกี่ยวกับกลัวม็อบนักศึกษา หรือม็อบใดๆทั้งสิ้น
ดังนั้นคนที่เรียกร้องให้เลิกใช้พ.ร.ก.คือคนที่มิได้ห่วงใยบ้านเมืองและประชาชน กลัวว่ารบ.จะใช้อำนาจในทางการเมือง ทั้งๆที่รัฐบาลมุ่งมั่นทำงานเพื่อแก้ปัญหาโควิด19 ไม่ได้ใช้อำนาจทางการเมืองแต่อย่างใด
และในที่สุดรบ.ก็ต้องเลิกใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินอยู่ดีเมื่อสถานการณ์โควิดสงบลงเป็นที่วางใจของทีมหมอที่ปรึกษา และศบค.
หวังว่าคงเข้าใจนะคะ....
ม็อบน่ะไม่กลัว แต่กลัวโควิดค่ะ...
❄❄❄มาลาริน/รู้ไหม..การที่นายกฯยังไม่ยกเลิก พรก.ฉุกเฉินไม่เกี่ยวกับการที่กลัวการเมือง หรือกลัวการเคลื่อนไหวทางการเมืองใดๆ
ฝ่ายต้านรัฐบาลพยายามจะบอกว่า...ในเมื่อผู้ติดเชื้อลดลงก็ไม่ควรใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินอีกต่อไปเป็นการไม่เข้าใจการทำงานของศบค.ภายใต้พ.ร.บ.ฉุกเฉิน
มาดูพ.ร.ก.ฉุกเฉินที่ประกาศใช้กันค่ะ
https://news.thaipbs.or.th/content/290175
นายกฯแต่งตั้ง 6 หัวหน้าผู้รับผิดชอบในด้านต่างๆ ในศูนย์คุมระบาดโควิดในภาวะฉุกเฉิน
วันที่ 25 มีนาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เปิดเผยระหว่างในการแถลงการณ์ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทรท.) หรือ ทีวีพูล ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักร วันที่ 26 มีนาคม – 26 เมษายน 2563 ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ พรก. เพื่อควบคุมการระบาดของไวรัสโคโรนา
โดยหนึ่งในนั้นมีการยกระดับศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด19) ขึ้นมาเป็นหน่วยงานพิเศษ ที่มีนายกรัฐมนตรี เป็นผู้อำกวยการศูนย์ พร้อมกับแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละด้าน โดยคําสั่งดังกล่าวลงนาม โดยพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ระบุว่า คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2563 เรื่อง แต่งตั้งผู้กํากับการปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้รับผิดชอบและพนักงานเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 แล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 7 วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหก และมาตรา 15 แห่งพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 นายกรัฐมนตรีจึงมีคําสั่งดังต่อไปนี้
ข้อ 1 นายกรัฐมนตรีเป็นผู้กํากับการปฏิบัติงานของหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไข สถานการณ์ฉุกเฉิน พนักงานเจ้าหน้าที่ และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานตามประกาศสถานการณ์ ฉุกเฉิน
ข้อ 2 ให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยผู้กํากับการปฏิบัติงานของนายกรัฐมนตรีเรียง ตามลําดับการรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีตามที่มีคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรีไว้แล้ว และให้ปฏิบัติภารกิจ ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ข้อ 3 (๑) ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวกับการสาธารณสุขทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร
(๒) ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับการสั่งการและประสานกับผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
(๓) ให้ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมสินค้า
(๔) ให้ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวกับการต่างประเทศ และการคุ้มครองช่วยเหลือผู้มีสัญชาติไทยในต่างประเทศ
(๕) ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการ แก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวกับการสื่อสารโทรคมนาคม และสื่อสังคมออนไลน์
(๖) ให้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับความมั่นคง
(๗) ให้เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขาธิการ คณะรัฐมนตรี และปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ประสานงานทั่วไป
ข้อ 4 ให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินตามที่กำหนดไว้
ข้อ 3 มีหน้าที่และ อํานาจในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินตามที่กําหนดไว้ในพระราชกําหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์
ฉุกเฉิน พ.ศ. 2554 ในส่วนที่รับผิดขอบ และให้มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้
(๑) บังคับบัญชาและสั่งการส่วนราชการและข้าราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามที่กฎหมายกําหนดเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหาโควิด-19 ในส่วนที่รับผิดชอบ
(๒) ดําเนินการอื่นตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ในกรณีมีปัญหาคาบเกี่ยวกับความรับผิดชอบของแต่ละส่วนหรือปัญหาในการปฏิบัติ ให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินหรือผู้ประสานงานทั่วไปหารือกันเองหรือ รายงานเพื่อให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้ได้ข้อยุติโดยเร็ว
ข้อ 5 ให้ข้าราชการตํารวจ ข้าราชการทหาร และข้าราชการพลเรือน ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติ หน้าที่หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตท้องที่ตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าที่และอํานาจดําเนินการตามพระราชกําหนดการบริหาร ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ตลอดจนข้อกําหนด ประกาศ และคําสั่งที่ออกตามพระราช กําหนดดังกล่าว และเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่และอํานาจตามกฎหมายที่โอนมาเป็นหน้าที่และอํานาจของ นายกรัฐมนตรี เว้นแต่นายกรัฐมนตรีจะสั่งเป็นอย่างอื่น การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่หัวหน้าผู้รับผิดชอบใน การแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายกําหนด
ข้อ 6 ให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็น เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และมีหน้าที่และอํานาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เว้นแต่การใช้อํานาจสอบสวนต้องเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็น ข้าราชการตํารวจซึ่งมียศตั้งแต่ร้อยตํารวจตรีขึ้นไป ข้าราชการทหารซึ่งมียศตั้งแต่ร้อยตรี เรือตรี และเรืออากาศตรี ขึ้นไป หรือข้าราชการฝ่ายพลเรือนซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่ระดับปฏิบัติการขึ้นไป
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
การใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินทำให้การทำงานมีความเป็นเอกภาพ มีศบค.เป็นหน่วยงานพิเศษทำงานภายใต้อำนาจการสั่งการของนายกรัฐมนตรี
ทำให้ปัญหาต่างๆคลี่คลายลงไป
ตอนนี้ศบค.ประสบความสำเร็จในการรับมือโควิด19 แต่พ.ร.ก.ยังมีความจำเป็นที่ต้องใช้ไปอีกระยะหนึ่ง
พื่อป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของการแพร่เชื้อไวรัสรอบ 2 ไม่เกี่ยวกับกลัวม็อบนักศึกษา หรือม็อบใดๆทั้งสิ้น
ดังนั้นคนที่เรียกร้องให้เลิกใช้พ.ร.ก.คือคนที่มิได้ห่วงใยบ้านเมืองและประชาชน กลัวว่ารบ.จะใช้อำนาจในทางการเมือง ทั้งๆที่รัฐบาลมุ่งมั่นทำงานเพื่อแก้ปัญหาโควิด19 ไม่ได้ใช้อำนาจทางการเมืองแต่อย่างใด
และในที่สุดรบ.ก็ต้องเลิกใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินอยู่ดีเมื่อสถานการณ์โควิดสงบลงเป็นที่วางใจของทีมหมอที่ปรึกษา และศบค.
หวังว่าคงเข้าใจนะคะ....
ม็อบน่ะไม่กลัว แต่กลัวโควิดค่ะ...