จขกท.ขอนำบทความดีๆมาแบ่งปันค่ะ
ขอบคุณ LINE TODAY
นี่ชั่นติ่งอะไร มาในที่นี้ด้วยค่ะ
บทความนี้เขียนก่อนวันที่9 มีนาคม
2563
ในขณะที่พวกเราและทั่วโลกกำลัง
ตระหนกกับยอดผู้ป่วยที่พุ่งทะลุฟ้า ยอด
ผู้ป่วยใหม่ของจีนค่อย ๆ ลดลง เช่น
เดียวกับภาระงานเจ้าหน้าที่ ขณะที่ร้าน
รวงในเมืองคู่ฮั่นกลับมาเปิดอีกครั้ง ฟา
หลังฝนก็เริ่มสุดใส
ถูกต้องแล้วค่ะ สำหรับจีน แม้ยังไม่จบชะ
ทีเดียว แต่ไตเติ้ลตอนจบก็เริ่มแล้ว โรค
ระบาดใหญ่นี้ถูกควบคุมได้แล้ว
ในขณะที่ยารักษายังไม่แน่นอน และ
วัดชีน COVID-19 ยังอยู่ในช่วงทดลอง
จีนควบคุมโรคระบาดนี้ได้อย่างไรกันแน่
ย้อนกลับไปที่จุดเริ่มต้น ทุก ๆ การ
ระบาดใหญ่ เป้าหมายหลักชัยของ
มนุษยชาติ คือการรักษาชีวิตของเผ่า
พันธุ์ให้เหลือรอดได้มากที่สุด
ตามธรรมชาติของโรคไวรัสทั้งหลาย
เมื่อถึงจุดหนึ่งร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน
และกำจัดเชื้อออกไปเองได้ หากเรา
สามารถดูแลให้คนผู้นั้นรอดชีวิตไปถึง
ตอนนั้นได้ ด้วยร่างกายที่ยังแข็งแรงพอ
ประมาณ เขาก็จะรอดชีวิต
นั่นหมายความว่า การรอดตายของผู้
ป่วยคนหนึ่ง มิได้ขึ้นกับการได้ยาฆ่า
ไวรัสหรือไม่เท่านั้น แต่ขึ้นกับการ
"ดูแล" ร่างกายนั้นให้แข็งแรงอยู่รอด
ต่อไป หรือภาษาการแพทย์เรียก
Supportive Treatment นั่นเอง
พูดง่าย ๆ ว่า หากเหนื่อยมีออกชิเจนให้
หากหายใจไม่ไหวก็มีเครื่องช่วย แบบนี้
ก็น่าจะรอดชีวิต
นั่นคือหากเราป่วยในที่ที่มีบุคลากรและ
อุปกรณ์เพียงพอ ย่อมมีโอกาสรอดกว่า
ป่วยในที่ที่คนป่วยเยอะเกินกำลัง นั่นจึง
กลายเป็นความน่ากลัว และสาเหตุที่ผู้
ป่วยตายมากในช่วงที่โรคระบาด ก็
เพราะผู้ป่วยล้นเกินกว่าทรัพยากรที่มีอยู่
เมื่อได้รับการดูแลไม่ทั่วถึง ไม่เพียงพอ
ร่างกายย่อมทนรอจนถึงวันที่ภูมิคุ้มกัน
ชนะเชื้อไม่ได้
สิ่งสำคัญที่สุด ที่จะพาเรารอดจากการ
ระบาดไปได้ก็คือ
"การจัดการทรัพยากร" นั่นเอง !!
แต่จะจัดการทรัพยากรอย่างไรให้พอ
ย้อนไปยังหลักพื้นฐาน เราต้องลดความ
ต้องการใช้ทรัพยากร และเพิ่ม
ทรัพยากรให้มากขึ้น หรือที่พูด ๆ กันว่า
ลดดีมานด์เพิ่มชัปพลาย
และจีนก็ทำสองอย่างนี้ได้เป็นอย่างดี
"ลดความต้องการใช้ทรัพยากร"
อันดับแรกที่เราต้องทำ คือลดจำนวนผู้
ป่วยให้มากที่สุด และถ่วงเวลาให้
ระบาดช้าที่สุด เพื่อที่เราจะจัดสรร
ทรัพยากรได้ทันและพอเพียง
ช่วงแรกที่จีนพบว่า ตนกำลังเผชิญหน้า
กับไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่มีใครรู้จัก สิ่ง
แรกที่ผู้นำของจีนทำ คือการประกาศ
ให้การควบคุมการระบาด เป็นภารกิจ
หลักที่สำคัญที่สุดเหนือสิ่งอื่นใดของทุก
คนในแผ่นดินจีน
สถานการณ์ขณะนั้นต่างจากตอนนี้ จีน
ไม่รู้ด้วยช้ำว่าไวรัสตัวนี้คืออะไร มาจาก
ไหน ติดต่ออย่างไร เป้าหมายช่วงแรก
จึงเป็นการควบคุมการระบาดเท่าที่
ความรู้ขณะนั้นจะพอบอกได้ ไปพร้อม ๆ
กับการวิจัยหาข้อมูล และประกาศเตือน
ให้ทั่วโลกรับทราบ
ล่วงถึงกลางเดือนมกราคม เมื่อพบว่า
มันติดต่อจากคนสู่คน จีนจึงประกาศ
สงครามและออกมาตรการควบคุมการ
ระบาดขั้นสูงสุดทันที
หลายคนมองว่า การตัดสินใจที่เด็ดขาด
ในตอนนั้น คือจุดเปลี่ยนสำคัญที่ช่วย
ชะลอการระบาด จากจีนไปยังประเทศ
ต่าง ๆ ถือเป็นจุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์ที่
สมควรจดจำ
การควบคุมโรคขณะนั้น มีทั้งระดับปิด
เมือง ห้ามคนผ่านเข้าออก ระดับภายใน
เมือง ห้ามมีการชุมนุม และขอให้ทุกคน
อยู่ในบ้าน ไปจนถึงระดับรายบุคคลที่มี
การสืบสวนโรค ตามรอยคนสนิทที่ผู้
ป่วยพบเจอ ก่อนจะพาตัวมาตรวจสอบ
และกักกัน
แม้มาตรการปิดเมืองอู่ฮั่นและจังหวัด
โดยรอบจะถือเป็นข่าวใหญ่ แต่แท้จริง
แล้วสิ่งที่ทำให้จีนกำชัย กลับเป็นเรื่อง
เล็ก ๆ อย่างการสอบสวนโรครายบุคคล
จีนจัดทีมสอบสวนกว่า 1,800 ทีม (ซึ่ง
ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ 5 คนต่อทีมเป็น
อย่างน้อย) ลงพื้นที่ติดตามตัวผู้สัมผัสผู้
ป่วย ทันทีที่แพทย์วินิจฉัยผู้ป่วยรายใหม
ทีมก็จะเร่งลงพื้นที่ไป เพื่อคันหาผู้ติดเชื้อ
ต่อจากผู้ป่วยรายนั้นทันที
เชื่อกันว่าความเร็วในการสอบสวนโรค
นี้ แท้จริงคือปัจจัยหลักที่หยุดยั้งการ
ระบาดในเวลาต่อมา
หลายประเทศมองจีนแล้วก็โอดโอยว่า
ตนเองเป็นประชาธิปไตย คงไม่สามารถ
ปิดเมืองอย่างจีนได้แน่ เพราะผิดหลัก
สิทธิมนุษยชน
แต่จีนเองก็ไม่ได้ปิดทุกเมืองที่มีการ
ระบาด
ย้อนกลับไปยังช่วงที่การระบาดพุ่งถึงจุด
สูงสุด จีนพบว่าผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ ติด
จากคนใกล้ชิดที่อยู่ในครอบครัว
เดียวกัน นั่นคือแม้เราจะกินหมูกระทะ
เดินสวนไปมาพบเจอกัน แต่เรามักไม่ติด
เชื้อจากเขา เพราะเราไม่ได้ใกล้ชิด และ
อยู่ด้วยกันนานมากพอ
ถึงจะไม่รู้ว่าเชื่อมาจากไหน แต่เรารู้ว่าจะ
หามันได้ที่ไหนนั่นเอง
ที่มณฑลกว่างตง จีนมิได้ ใช้มาตรการ
รุนแรงเช่นที่อู่ฮั่น แต่เน้นตรวจจับเคสให้
ได้เร็วและได้มาก ไม่ว่าผู้ป่วยสัมผัสหรือ
ไม่ก็ตาม หากมีอาการไข้หวัด ย่อมจะถูก
ตรวจ COVID-19
การตรวจเช่นนี้เป็นการตรวจที่กึ่ง ๆ จะ
หว่าน และใช้เงินมาก
แต่เพราะตรวจเช่นนี้ จึงจับเดสได้
ครอบคลุมมาก ทั้งยังตามไปหาผู้ใกล้
ชิดที่รับเชื้อไปแล้วได้ ท้ายสุดจึงหยุดยั้ง
การระบาดได้รวดเร็วและดีกว่าที่คาดไว้
หลักการคล้ายกับที่เกาหลีใต้ใช้ ในเมื่อ
ปิดเมืองไม่ได้ ก็ต้องกวาดเคสที่มือยู่
ตอนนี้ให้หมด เมื่อได้เคสมาอยู่ในมือ
ชุดแรกได้ ย่อมตามลงไปยังคนใน
ครอบครัวที่รับเชื้อต่อไม่ยากแล้วนั่นเอง
ขณะนี้ยอดผู้ติดเชื้อเกาหลีใต้ที่ขึ้นอย่าง
รวดเร็ว อาจมิใช่เพราะระบาดใหม่อย่าง
รวดเร็ว แต่เพราะอยู่ระหว่างการไล่จับที่
ครอบคลุมมากขึ้นเรื่อย ๆ นั่นเอง
ที่สุดแล้ว ไม่หลอกตัวเอง ค้นหาเคสให้
เจอให้ได้ และช่วยถ่วงเวลาไว้ เพื่อ
จัดหาทรัพยากรทางการแพทย์ให้ได้
มากที่สุด นำไปสู่อัตราการรอดชีวิตที่สูง
ที่สุดนั่นเอง
"เพิ่มทรัพยากรให้เพียงพอให้ได้"
ในขณะที่ทีมระบาดสกัดโรคไว้ ทีมรักษา
ทำหน้าที่ช่วยชีวิตผู้คน ทีมสนับสนุนก็
ต้องรีบทำงานของตน นั่นคือการหา
ทรัพยากรให้เพียงพอให้จงได้
แต่ทรัพยากรไม่ใช่เพียงหน้ากาก
อนามัย แต่รวมถึงวัสดุ อุปกรณ์ และ
บุคลากรจำนวนมาก
จากการวิเคราะห์ ทรัพยากรที่ถือเป็นจุด
ตัดสินในวิกฤติการระบาด มีอยู่ 3 สิ่งที่
น่าสุนใจ
1. ชุดป้องกันเชื้อ โรค (PPE level c)
ชุดคลุมพลาสติกป้องกันเชื้อ ที่ใส่แล้วดู
คล้ายนักบินอวกาศ ชุดเช่นนี้แม้ราคาไม่
สูง วันหนึ่ง ๆ ผลิตได้มาก แต่เพราะใช้
แล้วทิ้ง จึงใช้จำนวนมาก เมื่อเกิดการ
ระบาด ย่อมประสบปัญหาเช่นหน้ากาก
อนามัยในขณะนี้
ช่วงแรกรัฐบาลจีนเรียกชุดชนิดนี้จาก
โรงพยาบาลทั่วประเทศ มอบให้โรง
พยาบาลในอู่ฮั่น จากนั้นเร่งผลิตเพิ่ม
เติมสุดกำลัง และแจกจ่ายไปยังโรง
พยาบาลต่าง ๆ ในสัดส่วนที่เหมาะสม
น่าสนใจว่า รัฐบาลประสบความสำเร็จ
ในการเรียกชุดป้องกันเช่นนี้จากโรง
พยาบาลต่าง ๆ ได้อย่างไร ในเมื่อนี่คือ
อุปกรณ์ป้องกันความตาย ย่อมต้องมีคน
ดื้อดึงเก็บไว้ หลายคนมองว่าเพราะเป็น
เผด็จการจึงทำได้ ขณะอีกหลายฝ่าย
มองว่า เพราะประชาชนมีความเชื่อมั่น
ว่ารัฐจะจัดหาให้ทันนั่นเอง
ทั้งนี้ N95 เป็นส่วนประกอบหนึ่งของชุด
ชนิดนี้
2. เครื่องช่วยหาย ใจ
ผู้ป่วย COVID-19 ที่อาการหนัก จะเกิด
ภาวะหายใจล้มเหลวตามมา ก่อนจะแย
ลงเรื่อย ๆ จนเสียชีวิตไป เครื่องช่วย
หายใจ จึงกลายเป็นอุปกรณ์สำคัญที่จะ
เปลี่ยนลิขิตเป็นตาย
อาจเพราะจีนมีฐานการผลิตเครื่องช่วย
หายใจ จึงสามารถจัดซื้อเกือบหมื่น
เครื่องในเวลาอันสั้นได้ แม้กระนั้นยังมี
ช่วงไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ในขณะที่ประเทศเรายังคงวนเวียนกับ
หน้ากากอนามัย อุปกรณ์ช่วยชีวิตของ
จริงอย่าง "เครื่องช่วยหายใจ" กลับยัง
ไม่มีความเคลื่อนไหวในการจัดหาเพิ่ม
เติม ยิ่งหากวิกฤติ pm 2.5 ยังไม่
คลี่คลาย เครื่องช่วยหายใจถูกใช้จน
หมดในหลาย ๆ โรงพยาบาล การจัดหา
เพิ่มเติมไม่อาจทำได้ เช่นนั้นจะท
อย่างไร
3. บุคลากร
ในขณะที่ 2 ข้อแรกเป็นสิ่งที่เงินยังพอซื้อ
ได้ แต่สิ่งสำคัญเช่นบุคลากรไม่อาจหา
ชือ
หลายท่านคงได้ยินเรื่องจีนทุ่มทุนสร้าง
โรงพยาบาลขนาดใหญ่ถึง 2 แห่ง
สำหรับดูแลผู้ป่วย COVID-19 โดย
เฉพาะ แม้ภายนอกดูน่าตื่นใจ แต่สิ่ง
สำคัญกลับอยู่ภายใน โรงพยาบาลแห่ง
นี้คือยุทธศาสตร์สำคัญในการบริหาร
ทรัพยากร
จีนได้แยกกลุ่มผู้ป่วย COVID-19 ออก
จากผู้ป่วยอื่น และแยกกลุ่มผู้มีอาการ
รุนแรงออกจากกลุ่มไม่รุนแรง เพื่อง่าย
ต่อการจัดสรรและบริหารทรัพยากร
โดยเฉพาะบุคคลากร
โรงพยาบาลดังกล่าวนี้ มีทีมแพทย
พยาบาลเป็นการเฉพาะ กินนอนที่โรง
พยาบาลนี้ ทำงานแต่เฉพาะที่นี้ หนึ่งเพื่อ
ควบคุมสืบสวนได้ง่ายหากเกิดติดเชื้อ
อีกหนึ่งเพื่อฝึกฝนให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าว
มีประสบการณ์ในการดูแลโรคที่ไม่เคย
มีใครรู้จักมาก่อน เพื่อเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่จะให้คำแนะนำเจ้าหน้าที่ภายนอกต่อ
ไปได้
เมื่อความชำนาญเกิดขึ้น การทำงานยิ่ง
เพิ่มประสิทธิภาพ เมื่อร่วมกับการ
บริหารทรัพยากรที่ลื่นไหล การรักษา
พยาบาลย่อมครอบคลุมและเข้มแข็ง
นั่นทำให้อัตราตายของ COVID-19 ใน
ช่วงแรกที่สูงถึง 17.3% กลับลดลงเหลือ
เพียง 0.7% ในเวลาต่อมา
ทั้งนี WHO ถึงกับเตือนว่า อัตราตายที่ดู
ต่ำมากนี้ มิได้หมายความว่าโรคร้าย
แท้จริงดีแต่อย่างใด แต่เพราะการดูแลผู้
ป่วยและระบบสนับสนุนของจีน เข้มแข็ง
ขึ้นเรื่อย ๆ ตลอดเวลาที่ผ่านไป จึง
ทำให้เหตุการณ์ที่ควรเป็น
โศกนาฎกรรมใหญ่ กลายเป็นเพียงฉาก
เศร้าสั้น ๆ ที่ทุกคนจะผ่านมันไปได้
แน่นอน
จะเห็นได้ว่าการรักษา โรคหนึ่งว่ายาก
แล้ว การรักษาโรคหนึ่งที่เกิดการระบาด
ยิ่งยากกว่า เพราะไม่เพียงทีมระบาด
และทีมรักษา ยังต้องการทีมสนับสนุนที่
แข็งแกร่งมั่นคง
นั่นคือสาธารณสุข เอกชน ประชาชน
ต้องร่วมมือกัน ใต้รัฐบาลที่เข้มแข็ง
ฉับไว เด็ดขาด รอบด้าน คิดถึง
ประชาชนเป็นหลัก เป็นรัฐบาลที่เราเชื่อ
ถือเท่านั้น
จึงจะรอดพ้นผ่านไปได้
ขณะนี้ประเทศไทยอยู่ในวิกฤติครั้งใหญ
เราอาจมีทีมระบาดที่ดี มีทีมแพทย์ท
เยี่ยม แต่การจัดหาทรัพยากรกลับกลาย
เป็นข้อสงสัย
ดูเหมือนสิ่งที่เราทำได้ ยังคงเป็นการ
ดูแลตัวเอง และให้กำลังใจทุกฝ่าย ที
ต่อสู้เพื่อประเทศอย่างไม่รู้จัก
เหน็ดเหนื่อย
แล้วเราจะผ่านไปด้วยดี..ด้วยกัน
ติดตามบทความใหม่ ๆ จากเพจวันนี้ชั้น
ติ่งอะไรได้ทุกวันอังคารที่ 2 และ 4 ของ
ทุกเดือน บน LINE TODAY และหาก
สามารถอ่านบทความอื่น ๆ ได้ที่เพจวัน
นี้ชั้นติ่งอะไร
อ้างอิง
Report of the WHO-China Joint
Mission on Coronavirus Disease
2019 (COVID-19)
แล้วมันจะผ่านไปด้วยดี (?) กับ COVID-19 - เพจวันนี้ชั้น ติ่งอะไร
ขอบคุณ LINE TODAY
นี่ชั่นติ่งอะไร มาในที่นี้ด้วยค่ะ
บทความนี้เขียนก่อนวันที่9 มีนาคม
2563
ในขณะที่พวกเราและทั่วโลกกำลัง
ตระหนกกับยอดผู้ป่วยที่พุ่งทะลุฟ้า ยอด
ผู้ป่วยใหม่ของจีนค่อย ๆ ลดลง เช่น
เดียวกับภาระงานเจ้าหน้าที่ ขณะที่ร้าน
รวงในเมืองคู่ฮั่นกลับมาเปิดอีกครั้ง ฟา
หลังฝนก็เริ่มสุดใส
ถูกต้องแล้วค่ะ สำหรับจีน แม้ยังไม่จบชะ
ทีเดียว แต่ไตเติ้ลตอนจบก็เริ่มแล้ว โรค
ระบาดใหญ่นี้ถูกควบคุมได้แล้ว
ในขณะที่ยารักษายังไม่แน่นอน และ
วัดชีน COVID-19 ยังอยู่ในช่วงทดลอง
จีนควบคุมโรคระบาดนี้ได้อย่างไรกันแน่
ย้อนกลับไปที่จุดเริ่มต้น ทุก ๆ การ
ระบาดใหญ่ เป้าหมายหลักชัยของ
มนุษยชาติ คือการรักษาชีวิตของเผ่า
พันธุ์ให้เหลือรอดได้มากที่สุด
ตามธรรมชาติของโรคไวรัสทั้งหลาย
เมื่อถึงจุดหนึ่งร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน
และกำจัดเชื้อออกไปเองได้ หากเรา
สามารถดูแลให้คนผู้นั้นรอดชีวิตไปถึง
ตอนนั้นได้ ด้วยร่างกายที่ยังแข็งแรงพอ
ประมาณ เขาก็จะรอดชีวิต
นั่นหมายความว่า การรอดตายของผู้
ป่วยคนหนึ่ง มิได้ขึ้นกับการได้ยาฆ่า
ไวรัสหรือไม่เท่านั้น แต่ขึ้นกับการ
"ดูแล" ร่างกายนั้นให้แข็งแรงอยู่รอด
ต่อไป หรือภาษาการแพทย์เรียก
Supportive Treatment นั่นเอง
พูดง่าย ๆ ว่า หากเหนื่อยมีออกชิเจนให้
หากหายใจไม่ไหวก็มีเครื่องช่วย แบบนี้
ก็น่าจะรอดชีวิต
นั่นคือหากเราป่วยในที่ที่มีบุคลากรและ
อุปกรณ์เพียงพอ ย่อมมีโอกาสรอดกว่า
ป่วยในที่ที่คนป่วยเยอะเกินกำลัง นั่นจึง
กลายเป็นความน่ากลัว และสาเหตุที่ผู้
ป่วยตายมากในช่วงที่โรคระบาด ก็
เพราะผู้ป่วยล้นเกินกว่าทรัพยากรที่มีอยู่
เมื่อได้รับการดูแลไม่ทั่วถึง ไม่เพียงพอ
ร่างกายย่อมทนรอจนถึงวันที่ภูมิคุ้มกัน
ชนะเชื้อไม่ได้
สิ่งสำคัญที่สุด ที่จะพาเรารอดจากการ
ระบาดไปได้ก็คือ
"การจัดการทรัพยากร" นั่นเอง !!
แต่จะจัดการทรัพยากรอย่างไรให้พอ
ย้อนไปยังหลักพื้นฐาน เราต้องลดความ
ต้องการใช้ทรัพยากร และเพิ่ม
ทรัพยากรให้มากขึ้น หรือที่พูด ๆ กันว่า
ลดดีมานด์เพิ่มชัปพลาย
และจีนก็ทำสองอย่างนี้ได้เป็นอย่างดี
"ลดความต้องการใช้ทรัพยากร"
อันดับแรกที่เราต้องทำ คือลดจำนวนผู้
ป่วยให้มากที่สุด และถ่วงเวลาให้
ระบาดช้าที่สุด เพื่อที่เราจะจัดสรร
ทรัพยากรได้ทันและพอเพียง
ช่วงแรกที่จีนพบว่า ตนกำลังเผชิญหน้า
กับไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่มีใครรู้จัก สิ่ง
แรกที่ผู้นำของจีนทำ คือการประกาศ
ให้การควบคุมการระบาด เป็นภารกิจ
หลักที่สำคัญที่สุดเหนือสิ่งอื่นใดของทุก
คนในแผ่นดินจีน
สถานการณ์ขณะนั้นต่างจากตอนนี้ จีน
ไม่รู้ด้วยช้ำว่าไวรัสตัวนี้คืออะไร มาจาก
ไหน ติดต่ออย่างไร เป้าหมายช่วงแรก
จึงเป็นการควบคุมการระบาดเท่าที่
ความรู้ขณะนั้นจะพอบอกได้ ไปพร้อม ๆ
กับการวิจัยหาข้อมูล และประกาศเตือน
ให้ทั่วโลกรับทราบ
ล่วงถึงกลางเดือนมกราคม เมื่อพบว่า
มันติดต่อจากคนสู่คน จีนจึงประกาศ
สงครามและออกมาตรการควบคุมการ
ระบาดขั้นสูงสุดทันที
หลายคนมองว่า การตัดสินใจที่เด็ดขาด
ในตอนนั้น คือจุดเปลี่ยนสำคัญที่ช่วย
ชะลอการระบาด จากจีนไปยังประเทศ
ต่าง ๆ ถือเป็นจุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์ที่
สมควรจดจำ
การควบคุมโรคขณะนั้น มีทั้งระดับปิด
เมือง ห้ามคนผ่านเข้าออก ระดับภายใน
เมือง ห้ามมีการชุมนุม และขอให้ทุกคน
อยู่ในบ้าน ไปจนถึงระดับรายบุคคลที่มี
การสืบสวนโรค ตามรอยคนสนิทที่ผู้
ป่วยพบเจอ ก่อนจะพาตัวมาตรวจสอบ
และกักกัน
แม้มาตรการปิดเมืองอู่ฮั่นและจังหวัด
โดยรอบจะถือเป็นข่าวใหญ่ แต่แท้จริง
แล้วสิ่งที่ทำให้จีนกำชัย กลับเป็นเรื่อง
เล็ก ๆ อย่างการสอบสวนโรครายบุคคล
จีนจัดทีมสอบสวนกว่า 1,800 ทีม (ซึ่ง
ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ 5 คนต่อทีมเป็น
อย่างน้อย) ลงพื้นที่ติดตามตัวผู้สัมผัสผู้
ป่วย ทันทีที่แพทย์วินิจฉัยผู้ป่วยรายใหม
ทีมก็จะเร่งลงพื้นที่ไป เพื่อคันหาผู้ติดเชื้อ
ต่อจากผู้ป่วยรายนั้นทันที
เชื่อกันว่าความเร็วในการสอบสวนโรค
นี้ แท้จริงคือปัจจัยหลักที่หยุดยั้งการ
ระบาดในเวลาต่อมา
หลายประเทศมองจีนแล้วก็โอดโอยว่า
ตนเองเป็นประชาธิปไตย คงไม่สามารถ
ปิดเมืองอย่างจีนได้แน่ เพราะผิดหลัก
สิทธิมนุษยชน
แต่จีนเองก็ไม่ได้ปิดทุกเมืองที่มีการ
ระบาด
ย้อนกลับไปยังช่วงที่การระบาดพุ่งถึงจุด
สูงสุด จีนพบว่าผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ ติด
จากคนใกล้ชิดที่อยู่ในครอบครัว
เดียวกัน นั่นคือแม้เราจะกินหมูกระทะ
เดินสวนไปมาพบเจอกัน แต่เรามักไม่ติด
เชื้อจากเขา เพราะเราไม่ได้ใกล้ชิด และ
อยู่ด้วยกันนานมากพอ
ถึงจะไม่รู้ว่าเชื่อมาจากไหน แต่เรารู้ว่าจะ
หามันได้ที่ไหนนั่นเอง
ที่มณฑลกว่างตง จีนมิได้ ใช้มาตรการ
รุนแรงเช่นที่อู่ฮั่น แต่เน้นตรวจจับเคสให้
ได้เร็วและได้มาก ไม่ว่าผู้ป่วยสัมผัสหรือ
ไม่ก็ตาม หากมีอาการไข้หวัด ย่อมจะถูก
ตรวจ COVID-19
การตรวจเช่นนี้เป็นการตรวจที่กึ่ง ๆ จะ
หว่าน และใช้เงินมาก
แต่เพราะตรวจเช่นนี้ จึงจับเดสได้
ครอบคลุมมาก ทั้งยังตามไปหาผู้ใกล้
ชิดที่รับเชื้อไปแล้วได้ ท้ายสุดจึงหยุดยั้ง
การระบาดได้รวดเร็วและดีกว่าที่คาดไว้
หลักการคล้ายกับที่เกาหลีใต้ใช้ ในเมื่อ
ปิดเมืองไม่ได้ ก็ต้องกวาดเคสที่มือยู่
ตอนนี้ให้หมด เมื่อได้เคสมาอยู่ในมือ
ชุดแรกได้ ย่อมตามลงไปยังคนใน
ครอบครัวที่รับเชื้อต่อไม่ยากแล้วนั่นเอง
ขณะนี้ยอดผู้ติดเชื้อเกาหลีใต้ที่ขึ้นอย่าง
รวดเร็ว อาจมิใช่เพราะระบาดใหม่อย่าง
รวดเร็ว แต่เพราะอยู่ระหว่างการไล่จับที่
ครอบคลุมมากขึ้นเรื่อย ๆ นั่นเอง
ที่สุดแล้ว ไม่หลอกตัวเอง ค้นหาเคสให้
เจอให้ได้ และช่วยถ่วงเวลาไว้ เพื่อ
จัดหาทรัพยากรทางการแพทย์ให้ได้
มากที่สุด นำไปสู่อัตราการรอดชีวิตที่สูง
ที่สุดนั่นเอง
"เพิ่มทรัพยากรให้เพียงพอให้ได้"
ในขณะที่ทีมระบาดสกัดโรคไว้ ทีมรักษา
ทำหน้าที่ช่วยชีวิตผู้คน ทีมสนับสนุนก็
ต้องรีบทำงานของตน นั่นคือการหา
ทรัพยากรให้เพียงพอให้จงได้
แต่ทรัพยากรไม่ใช่เพียงหน้ากาก
อนามัย แต่รวมถึงวัสดุ อุปกรณ์ และ
บุคลากรจำนวนมาก
จากการวิเคราะห์ ทรัพยากรที่ถือเป็นจุด
ตัดสินในวิกฤติการระบาด มีอยู่ 3 สิ่งที่
น่าสุนใจ
1. ชุดป้องกันเชื้อ โรค (PPE level c)
ชุดคลุมพลาสติกป้องกันเชื้อ ที่ใส่แล้วดู
คล้ายนักบินอวกาศ ชุดเช่นนี้แม้ราคาไม่
สูง วันหนึ่ง ๆ ผลิตได้มาก แต่เพราะใช้
แล้วทิ้ง จึงใช้จำนวนมาก เมื่อเกิดการ
ระบาด ย่อมประสบปัญหาเช่นหน้ากาก
อนามัยในขณะนี้
ช่วงแรกรัฐบาลจีนเรียกชุดชนิดนี้จาก
โรงพยาบาลทั่วประเทศ มอบให้โรง
พยาบาลในอู่ฮั่น จากนั้นเร่งผลิตเพิ่ม
เติมสุดกำลัง และแจกจ่ายไปยังโรง
พยาบาลต่าง ๆ ในสัดส่วนที่เหมาะสม
น่าสนใจว่า รัฐบาลประสบความสำเร็จ
ในการเรียกชุดป้องกันเช่นนี้จากโรง
พยาบาลต่าง ๆ ได้อย่างไร ในเมื่อนี่คือ
อุปกรณ์ป้องกันความตาย ย่อมต้องมีคน
ดื้อดึงเก็บไว้ หลายคนมองว่าเพราะเป็น
เผด็จการจึงทำได้ ขณะอีกหลายฝ่าย
มองว่า เพราะประชาชนมีความเชื่อมั่น
ว่ารัฐจะจัดหาให้ทันนั่นเอง
ทั้งนี้ N95 เป็นส่วนประกอบหนึ่งของชุด
ชนิดนี้
2. เครื่องช่วยหาย ใจ
ผู้ป่วย COVID-19 ที่อาการหนัก จะเกิด
ภาวะหายใจล้มเหลวตามมา ก่อนจะแย
ลงเรื่อย ๆ จนเสียชีวิตไป เครื่องช่วย
หายใจ จึงกลายเป็นอุปกรณ์สำคัญที่จะ
เปลี่ยนลิขิตเป็นตาย
อาจเพราะจีนมีฐานการผลิตเครื่องช่วย
หายใจ จึงสามารถจัดซื้อเกือบหมื่น
เครื่องในเวลาอันสั้นได้ แม้กระนั้นยังมี
ช่วงไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ในขณะที่ประเทศเรายังคงวนเวียนกับ
หน้ากากอนามัย อุปกรณ์ช่วยชีวิตของ
จริงอย่าง "เครื่องช่วยหายใจ" กลับยัง
ไม่มีความเคลื่อนไหวในการจัดหาเพิ่ม
เติม ยิ่งหากวิกฤติ pm 2.5 ยังไม่
คลี่คลาย เครื่องช่วยหายใจถูกใช้จน
หมดในหลาย ๆ โรงพยาบาล การจัดหา
เพิ่มเติมไม่อาจทำได้ เช่นนั้นจะท
อย่างไร
3. บุคลากร
ในขณะที่ 2 ข้อแรกเป็นสิ่งที่เงินยังพอซื้อ
ได้ แต่สิ่งสำคัญเช่นบุคลากรไม่อาจหา
ชือ
หลายท่านคงได้ยินเรื่องจีนทุ่มทุนสร้าง
โรงพยาบาลขนาดใหญ่ถึง 2 แห่ง
สำหรับดูแลผู้ป่วย COVID-19 โดย
เฉพาะ แม้ภายนอกดูน่าตื่นใจ แต่สิ่ง
สำคัญกลับอยู่ภายใน โรงพยาบาลแห่ง
นี้คือยุทธศาสตร์สำคัญในการบริหาร
ทรัพยากร
จีนได้แยกกลุ่มผู้ป่วย COVID-19 ออก
จากผู้ป่วยอื่น และแยกกลุ่มผู้มีอาการ
รุนแรงออกจากกลุ่มไม่รุนแรง เพื่อง่าย
ต่อการจัดสรรและบริหารทรัพยากร
โดยเฉพาะบุคคลากร
โรงพยาบาลดังกล่าวนี้ มีทีมแพทย
พยาบาลเป็นการเฉพาะ กินนอนที่โรง
พยาบาลนี้ ทำงานแต่เฉพาะที่นี้ หนึ่งเพื่อ
ควบคุมสืบสวนได้ง่ายหากเกิดติดเชื้อ
อีกหนึ่งเพื่อฝึกฝนให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าว
มีประสบการณ์ในการดูแลโรคที่ไม่เคย
มีใครรู้จักมาก่อน เพื่อเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่จะให้คำแนะนำเจ้าหน้าที่ภายนอกต่อ
ไปได้
เมื่อความชำนาญเกิดขึ้น การทำงานยิ่ง
เพิ่มประสิทธิภาพ เมื่อร่วมกับการ
บริหารทรัพยากรที่ลื่นไหล การรักษา
พยาบาลย่อมครอบคลุมและเข้มแข็ง
นั่นทำให้อัตราตายของ COVID-19 ใน
ช่วงแรกที่สูงถึง 17.3% กลับลดลงเหลือ
เพียง 0.7% ในเวลาต่อมา
ทั้งนี WHO ถึงกับเตือนว่า อัตราตายที่ดู
ต่ำมากนี้ มิได้หมายความว่าโรคร้าย
แท้จริงดีแต่อย่างใด แต่เพราะการดูแลผู้
ป่วยและระบบสนับสนุนของจีน เข้มแข็ง
ขึ้นเรื่อย ๆ ตลอดเวลาที่ผ่านไป จึง
ทำให้เหตุการณ์ที่ควรเป็น
โศกนาฎกรรมใหญ่ กลายเป็นเพียงฉาก
เศร้าสั้น ๆ ที่ทุกคนจะผ่านมันไปได้
แน่นอน
จะเห็นได้ว่าการรักษา โรคหนึ่งว่ายาก
แล้ว การรักษาโรคหนึ่งที่เกิดการระบาด
ยิ่งยากกว่า เพราะไม่เพียงทีมระบาด
และทีมรักษา ยังต้องการทีมสนับสนุนที่
แข็งแกร่งมั่นคง
นั่นคือสาธารณสุข เอกชน ประชาชน
ต้องร่วมมือกัน ใต้รัฐบาลที่เข้มแข็ง
ฉับไว เด็ดขาด รอบด้าน คิดถึง
ประชาชนเป็นหลัก เป็นรัฐบาลที่เราเชื่อ
ถือเท่านั้น
จึงจะรอดพ้นผ่านไปได้
ขณะนี้ประเทศไทยอยู่ในวิกฤติครั้งใหญ
เราอาจมีทีมระบาดที่ดี มีทีมแพทย์ท
เยี่ยม แต่การจัดหาทรัพยากรกลับกลาย
เป็นข้อสงสัย
ดูเหมือนสิ่งที่เราทำได้ ยังคงเป็นการ
ดูแลตัวเอง และให้กำลังใจทุกฝ่าย ที
ต่อสู้เพื่อประเทศอย่างไม่รู้จัก
เหน็ดเหนื่อย
แล้วเราจะผ่านไปด้วยดี..ด้วยกัน
ติดตามบทความใหม่ ๆ จากเพจวันนี้ชั้น
ติ่งอะไรได้ทุกวันอังคารที่ 2 และ 4 ของ
ทุกเดือน บน LINE TODAY และหาก
สามารถอ่านบทความอื่น ๆ ได้ที่เพจวัน
นี้ชั้นติ่งอะไร
อ้างอิง
Report of the WHO-China Joint
Mission on Coronavirus Disease
2019 (COVID-19)