สมัยรัชกาลที่ 6
1. การเปลี่ยนแปลงในด้านใดที่เกิดขึ้นหลังสุด
1) ทาสกลายเป็นเสรีชน 2) ไพรเปลี่ยนแปลงเป็นสามัญชน
3) เด็กทุกคนต้องเรียนหนังสือ 4) ชายไทยต้องถูกเกณฑ์ทหาร
2. การพัฒนาทางสังคมในสมัยรัชกาลที่ 6 ในลักษณะใดที่เกิดประโยชน์สูงสุด
1) กำหนดเกณฑ์การเข้าเรียนหนังสือสำหรับเด็กไทย
2) ยกเลิกการเกณฑ์แรงงานเปลี่ยนเป็นระบบเกณฑ์ทหาร
3) ส่งเสริมความรู้สึกชาตินิยมผ่านทางงานวรรณกรรม
4) สนับสนุนบทบาทและความสำคัญของกลุ่มเสือป่า
3. ประเทศไทยมีการศึกษาภาคบังคับเป็นครั้งแรกเมื่อใด
1) พ. ศ. 2445 2) พ. ศ. 2461 3) พ. ศ. 2464 4) พ. ศ. 2475
4. อะไรเป็นเป้าหมายสำคัญของพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ. ศ. 2464
1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพได้
2) เพื่อให้พลเมืองมีโอกาสเลือกเรียนตามความสามารถของตน
3) เพื่อยกระดับการศึกษาของประชาชนทั่วไปให้สูงขึ้น
4) เพื่อฝึกอบรมให้เยาวชนอยู่ในระเบียบวินัยมีศีลธรรมและเป็นพลเมืองดี
5. การจัดรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 6 เพื่อ
1) ฝึกคนเข้ารับราชการ
2) ตั้งโรงเรียนขึ้นมาแทนการเรียนที่วัด
3) เพื่อให้ราษฎรมีโอกาสรับการศึกษาทั่วถึงกัน
4) เพื่อยกระดับการศึกษาให้ดีเท่ากับต่างประเทศ
6. ข้อใดไม่ได้แสดงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสมัยรัชกาลที่ 6
1) การจัดตั้งโรงเรียนอาชีวะ 2) การจัดตั้งมหาวิทยาลัย
3) การจัดตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง 4) กระจายการศึกษาระดับสูงสู่ภูมิภาค
7. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6
1) การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
2) การปั้นและหล่อพระบรมรูปของพระมหากษัตริย์
3) การใช้คำนำหน้านามว่า “นาง นางสาว นาย เด็กชาย เด็กหญิง”
4) การให้ข้าราชการสวมเสื้อราชปะแตนต์
8. ข้อใดไม่ได้เกิดขึ้นในรัชสมัยเดียวกับข้ออื่น ๆ
1) การประกาศใช้พระราชบัญญัตินามสกุล 2) การเปลี่ยนมาใช้พุทธศักราช
3) การเปลี่ยนมาใช้ธงไตรรงค์ 4) การเปลี่ยนชื่อประเทศสยามมาเป็นไทย
9. พระมหากษัตริย์หรือบุคคลใดเป็นผู้กำหนดให้ “ชาติศาสนาพระมหากษัตริย์” เป็นสถาบันหลักของประเทศ
1) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 2) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
3) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 4) คณะราษฎร
สมัยรัชกาลที่ 7
1. ข้อใดไม่ได้เกิดขึ้นสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
1) บัณฑิตปริญญารุ่นแรกของไทย 2) สะพานพุทธ
3) มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง 4) ประมวลกฎหมายอาญา
สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
1. เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนที่ไทยจะเข้าร่วมรบเป็นฝ่ายญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2
1) การรณรงค์เพื่อ “รัฐนิยม” ของจอมพลป. พิบูลสงคราม
2) การเรียกร้องดินแดนเขมรส่วนในคืนจากฝรั่งเศส
3) การก่อตั้งขบวนการเสรีไทย
4) การสร้างทางรถไฟสายมรณะ
2. สาเหตุใดที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยแรกที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี
1) แนวคิดเรื่องชาตินิยมของผู้นำประเทศ
2) เพื่อร่วมมือกับประเทศญี่ปุ่นในการทำสงครามมหาเอเชียบูรพา
3) โลกตะวันตกกำลังบ่อนทำลายวัฒนธรรมของชาติไทย
4) เศรษฐกิจโลกกำลังตกต่ำอย่างรุนแรงและขยายตัวไปทั่วโลก
3. นโยบาย “รัฐนิยม” ของจอมพล ป. พิบูลสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 คือข้อใด
1) การปลูกฝังเรื่องค่านิยมของคนไทย
2) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตบางประการของคนไทย
3) การรณรงค์ให้ประชาชนเลื่อมใสเชื่อฟังผู้นำ
4) การส่งเสริมให้ประชาชนมีค่านิยมแบบตะวันตก
4. ข้อใดคือวัตถุประสงค์สำคัญของการเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมบางประการในรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามช่วงแรก
1) การสร้างชาติให้เป็นมหาอำนาจ 2) การสร้างระเบียบวินัยในสังคมไทย
3) การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 4) การสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ประชาชน
5. ข้อใดกล่าวถึงความเชื่อเรื่องชาตินิยมน้อยที่สุด
1) รักชาติรักประชารักษาวัฒนธรรม 2) เกิดเป็นไทยแล้วใจต้องสู้
3) ไทยทำไทยใช้ไทยเจริญ 4) เชื่อฟังท่านผู้นำชาติเจริญ
6. “ลัทธิผู้นำในการสร้างชาติ” เกิดขึ้นในรัฐบาลไทยสมัยใด
1) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม 2) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
3) จอมพลถนอม กิตติขจร 4) ม. ร. ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
7. คำขวัญ “เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย” มีจุดมุ่งหมายใด
1) เพื่อกระตุ้นให้คนไทยร่วมมือต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น
2) เพื่อกระตุ้นให้คนไทยร่วมมือต่อต้านคอมมิวนิสต์
3) เพื่อให้คนไทยเทิดทูนสถาบันกษัตริย์
4) เพื่อให้คนไทยท้าตามนโยบายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
8. จุดเด่นของลัทธิผู้นำนิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีลักษณะคล้ายคลึงกับการปกครองระบอบได้
มากที่สุด
1) เผด็จการคอมมิวนิสต์ 2) เผด็จการฟาสซิสต์
3) เผด็จการทุนนิยม 4) เผด็จการรัฐสภา
9. ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม
1) การเปลี่ยนชื่อประเทศ 2) การเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่
3) การเปลี่ยนแปลงมาใช้พุทธศักราช 4) การเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษา
10. ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามนโยบายรัฐนิยมสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม
1) การยกเลิกการกินหมากพลู
2) การให้สวมหมวกและแต่งกายอย่างตะวันตก
3) การใช้ช้อนส้อมแทนการใช้มือ
4) การเปลี่ยนธงไตรรงค์แทนธงช้างเผือก
11. นโยบายยุครัฐนิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามในข้อใดใช้ได้ผลและมีผลมาจนถึงปัจจุบัน
1) การห้ามกินหมาก 2) การสวมหมวกเมื่อออกจากบ้าน
3) การห้ามใช้คำต่างประเทศ 4) การแต่งกายแบบตะวันตก
12. รัฐบาลไทยสมัยใดที่ประกาศยกเลิกบรรดาศักดิ์และยศข้าราชการพลเรือนตามแบบเก่า
1) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
3) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 4) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1. การกำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย เริ่มต้นเมื่อใด
1) เมื่อมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
2) เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2
3) เมื่อมีการเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจของนายปรีดีพนมยงค์
4) เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
2. หลัง พ.ศ. 2500 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วยสาเหตุหลายประการยกเว้นข้อใด
1) การคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยม 2) การแพร่หลายของวัฒนธรรมตะวันตก
3) การขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4) การขยายตัวทางการศึกษา
3. การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยหลัง พ. ศ. 2500 เป็นผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ ยกเว้นข้อใด
1) การที่ประชาชนในเมืองใหญ่เปลี่ยนเป็นพวกวัตถุนิยม
2) การขยายตัวของชุมชนเมืองอันเนื่องมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม
3) การผูกพันทางการทหารกับสหรัฐอเมริกาเพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์
4) นโยบายการขยายการศึกษาภาคบังคับและตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาค
4. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจในสมัยจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์
1) ชนชั้นกลางและชนชั้นกรรมกร
2) เมืองและปัญหาเมือง
3) การขยายการศึกษาและมหาวิทยาลัยภูมิภาค
4) การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
5. นับแต่ พ. ศ. 2560 เป็นต้นมากลุ่มใดมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้นมาก
1) กลุ่มเกษตรกรและกรรมกร 2) กลุ่มข้าราชการ
3) กลุ่มนายทุน 4) กลุ่มปัญญาชน
6. การดำเนินนโยบายผูกพันกับสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเวียดนามก่อให้เกิดผลอะไร
1) ความเจริญทางวัตถุและโอกาสทางเศรษฐกิจของประชาชนเพิ่มขึ้น
2) ธุรกิจในประเทศเพิ่มขึ้นแต่ปัญหาสังคมลดลง
3) ความเจริญทางด้านวัตถุเพิ่มขึ้นแต่ปัญหาสังคมลดลง
4) ธุรกิจในประเทศลดลงแต่วัฒนธรรมแบบไทยเจริญมากขึ้น
7. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการที่ไทยเข้าร่วมสงครามเวียดนามกับสหรัฐอเมริกา
1) การขยายตัวของเศรษฐกิจ
2) การขยายตัวของเศรษฐกิจภาคบริการ
3) การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบพอเพียง
4) การขยายตัวของวัฒนธรรมแบบบริโภคนิยม
ช่วยด้วยยยยยยยยยยยยยยยย
1. การเปลี่ยนแปลงในด้านใดที่เกิดขึ้นหลังสุด
1) ทาสกลายเป็นเสรีชน 2) ไพรเปลี่ยนแปลงเป็นสามัญชน
3) เด็กทุกคนต้องเรียนหนังสือ 4) ชายไทยต้องถูกเกณฑ์ทหาร
2. การพัฒนาทางสังคมในสมัยรัชกาลที่ 6 ในลักษณะใดที่เกิดประโยชน์สูงสุด
1) กำหนดเกณฑ์การเข้าเรียนหนังสือสำหรับเด็กไทย
2) ยกเลิกการเกณฑ์แรงงานเปลี่ยนเป็นระบบเกณฑ์ทหาร
3) ส่งเสริมความรู้สึกชาตินิยมผ่านทางงานวรรณกรรม
4) สนับสนุนบทบาทและความสำคัญของกลุ่มเสือป่า
3. ประเทศไทยมีการศึกษาภาคบังคับเป็นครั้งแรกเมื่อใด
1) พ. ศ. 2445 2) พ. ศ. 2461 3) พ. ศ. 2464 4) พ. ศ. 2475
4. อะไรเป็นเป้าหมายสำคัญของพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ. ศ. 2464
1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพได้
2) เพื่อให้พลเมืองมีโอกาสเลือกเรียนตามความสามารถของตน
3) เพื่อยกระดับการศึกษาของประชาชนทั่วไปให้สูงขึ้น
4) เพื่อฝึกอบรมให้เยาวชนอยู่ในระเบียบวินัยมีศีลธรรมและเป็นพลเมืองดี
5. การจัดรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 6 เพื่อ
1) ฝึกคนเข้ารับราชการ
2) ตั้งโรงเรียนขึ้นมาแทนการเรียนที่วัด
3) เพื่อให้ราษฎรมีโอกาสรับการศึกษาทั่วถึงกัน
4) เพื่อยกระดับการศึกษาให้ดีเท่ากับต่างประเทศ
6. ข้อใดไม่ได้แสดงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสมัยรัชกาลที่ 6
1) การจัดตั้งโรงเรียนอาชีวะ 2) การจัดตั้งมหาวิทยาลัย
3) การจัดตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง 4) กระจายการศึกษาระดับสูงสู่ภูมิภาค
7. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6
1) การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
2) การปั้นและหล่อพระบรมรูปของพระมหากษัตริย์
3) การใช้คำนำหน้านามว่า “นาง นางสาว นาย เด็กชาย เด็กหญิง”
4) การให้ข้าราชการสวมเสื้อราชปะแตนต์
8. ข้อใดไม่ได้เกิดขึ้นในรัชสมัยเดียวกับข้ออื่น ๆ
1) การประกาศใช้พระราชบัญญัตินามสกุล 2) การเปลี่ยนมาใช้พุทธศักราช
3) การเปลี่ยนมาใช้ธงไตรรงค์ 4) การเปลี่ยนชื่อประเทศสยามมาเป็นไทย
9. พระมหากษัตริย์หรือบุคคลใดเป็นผู้กำหนดให้ “ชาติศาสนาพระมหากษัตริย์” เป็นสถาบันหลักของประเทศ
1) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 2) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
3) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 4) คณะราษฎร
สมัยรัชกาลที่ 7
1. ข้อใดไม่ได้เกิดขึ้นสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
1) บัณฑิตปริญญารุ่นแรกของไทย 2) สะพานพุทธ
3) มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง 4) ประมวลกฎหมายอาญา
สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
1. เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนที่ไทยจะเข้าร่วมรบเป็นฝ่ายญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2
1) การรณรงค์เพื่อ “รัฐนิยม” ของจอมพลป. พิบูลสงคราม
2) การเรียกร้องดินแดนเขมรส่วนในคืนจากฝรั่งเศส
3) การก่อตั้งขบวนการเสรีไทย
4) การสร้างทางรถไฟสายมรณะ
2. สาเหตุใดที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยแรกที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี
1) แนวคิดเรื่องชาตินิยมของผู้นำประเทศ
2) เพื่อร่วมมือกับประเทศญี่ปุ่นในการทำสงครามมหาเอเชียบูรพา
3) โลกตะวันตกกำลังบ่อนทำลายวัฒนธรรมของชาติไทย
4) เศรษฐกิจโลกกำลังตกต่ำอย่างรุนแรงและขยายตัวไปทั่วโลก
3. นโยบาย “รัฐนิยม” ของจอมพล ป. พิบูลสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 คือข้อใด
1) การปลูกฝังเรื่องค่านิยมของคนไทย
2) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตบางประการของคนไทย
3) การรณรงค์ให้ประชาชนเลื่อมใสเชื่อฟังผู้นำ
4) การส่งเสริมให้ประชาชนมีค่านิยมแบบตะวันตก
4. ข้อใดคือวัตถุประสงค์สำคัญของการเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมบางประการในรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามช่วงแรก
1) การสร้างชาติให้เป็นมหาอำนาจ 2) การสร้างระเบียบวินัยในสังคมไทย
3) การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 4) การสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ประชาชน
5. ข้อใดกล่าวถึงความเชื่อเรื่องชาตินิยมน้อยที่สุด
1) รักชาติรักประชารักษาวัฒนธรรม 2) เกิดเป็นไทยแล้วใจต้องสู้
3) ไทยทำไทยใช้ไทยเจริญ 4) เชื่อฟังท่านผู้นำชาติเจริญ
6. “ลัทธิผู้นำในการสร้างชาติ” เกิดขึ้นในรัฐบาลไทยสมัยใด
1) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม 2) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
3) จอมพลถนอม กิตติขจร 4) ม. ร. ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
7. คำขวัญ “เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย” มีจุดมุ่งหมายใด
1) เพื่อกระตุ้นให้คนไทยร่วมมือต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น
2) เพื่อกระตุ้นให้คนไทยร่วมมือต่อต้านคอมมิวนิสต์
3) เพื่อให้คนไทยเทิดทูนสถาบันกษัตริย์
4) เพื่อให้คนไทยท้าตามนโยบายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
8. จุดเด่นของลัทธิผู้นำนิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีลักษณะคล้ายคลึงกับการปกครองระบอบได้
มากที่สุด
1) เผด็จการคอมมิวนิสต์ 2) เผด็จการฟาสซิสต์
3) เผด็จการทุนนิยม 4) เผด็จการรัฐสภา
9. ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม
1) การเปลี่ยนชื่อประเทศ 2) การเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่
3) การเปลี่ยนแปลงมาใช้พุทธศักราช 4) การเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษา
10. ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามนโยบายรัฐนิยมสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม
1) การยกเลิกการกินหมากพลู
2) การให้สวมหมวกและแต่งกายอย่างตะวันตก
3) การใช้ช้อนส้อมแทนการใช้มือ
4) การเปลี่ยนธงไตรรงค์แทนธงช้างเผือก
11. นโยบายยุครัฐนิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามในข้อใดใช้ได้ผลและมีผลมาจนถึงปัจจุบัน
1) การห้ามกินหมาก 2) การสวมหมวกเมื่อออกจากบ้าน
3) การห้ามใช้คำต่างประเทศ 4) การแต่งกายแบบตะวันตก
12. รัฐบาลไทยสมัยใดที่ประกาศยกเลิกบรรดาศักดิ์และยศข้าราชการพลเรือนตามแบบเก่า
1) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
3) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 4) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1. การกำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย เริ่มต้นเมื่อใด
1) เมื่อมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
2) เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2
3) เมื่อมีการเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจของนายปรีดีพนมยงค์
4) เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
2. หลัง พ.ศ. 2500 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วยสาเหตุหลายประการยกเว้นข้อใด
1) การคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยม 2) การแพร่หลายของวัฒนธรรมตะวันตก
3) การขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4) การขยายตัวทางการศึกษา
3. การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยหลัง พ. ศ. 2500 เป็นผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ ยกเว้นข้อใด
1) การที่ประชาชนในเมืองใหญ่เปลี่ยนเป็นพวกวัตถุนิยม
2) การขยายตัวของชุมชนเมืองอันเนื่องมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม
3) การผูกพันทางการทหารกับสหรัฐอเมริกาเพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์
4) นโยบายการขยายการศึกษาภาคบังคับและตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาค
4. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจในสมัยจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์
1) ชนชั้นกลางและชนชั้นกรรมกร
2) เมืองและปัญหาเมือง
3) การขยายการศึกษาและมหาวิทยาลัยภูมิภาค
4) การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
5. นับแต่ พ. ศ. 2560 เป็นต้นมากลุ่มใดมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้นมาก
1) กลุ่มเกษตรกรและกรรมกร 2) กลุ่มข้าราชการ
3) กลุ่มนายทุน 4) กลุ่มปัญญาชน
6. การดำเนินนโยบายผูกพันกับสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเวียดนามก่อให้เกิดผลอะไร
1) ความเจริญทางวัตถุและโอกาสทางเศรษฐกิจของประชาชนเพิ่มขึ้น
2) ธุรกิจในประเทศเพิ่มขึ้นแต่ปัญหาสังคมลดลง
3) ความเจริญทางด้านวัตถุเพิ่มขึ้นแต่ปัญหาสังคมลดลง
4) ธุรกิจในประเทศลดลงแต่วัฒนธรรมแบบไทยเจริญมากขึ้น
7. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการที่ไทยเข้าร่วมสงครามเวียดนามกับสหรัฐอเมริกา
1) การขยายตัวของเศรษฐกิจ
2) การขยายตัวของเศรษฐกิจภาคบริการ
3) การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบพอเพียง
4) การขยายตัวของวัฒนธรรมแบบบริโภคนิยม