หัวใจพระพุทธศาสนา
๑. ให้รู้จักทุกข์ ให้รู้ว่าทุกข์คืออะไร รู้จักสาเหตุแห่งทุกข์ (คือรู้จักผล คือทุกข์) แต่ต้องมารู้สาเหตุแห่งทุกข์ จะต้องใช้หลักอริยสัจ ๔
๒. รู้วิธีแก้ทุกข์จะทำยังไง รู้จักแก้ไขทุกข์ ก็จะใช้วิปัสสนากรรมฐาน โยนิโสมนสิการเป็นตัวดำเนินงาน ใช้หลักอิทธิบาท ๔ มรรคมีองค์ ๘ ข้อปฏิบัติแก้ทุกข์
๓. รักษาความดีและป้องกันไม่ให้เกิดทุกข์ซ้ำซาก เราอย่าไปทำบาปเพิ่ม เราทำเหตุเช่นใดย่อมได้รับผลตามเหตุเช่นนั้นๆ พิจารณากรรม ๕ พิจารณาวิบาก ๗ จะเป็นตัวป้องกันได้ (ไม่ทำชั่ว ทำดี ทำจิตใจให้ผ่องใส ) จะเข้าใจตรงนี้จะต้องใช้หลักวิปัสสนากรรมฐาน เครื่องมือดำเนินงานด้วยโยนิโสมนสิการ
พระไตรปิฏก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ๒. อลคัททูปมสูตร ว่าด้วยข้ออุปมาด้วยอสรพิษ [๒๘๖] การวางใจเป็นกลางในลาภสักการะ กล่าวว่า "ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมบัญญัติทุกข์ และความดับทุกข์ ทั้งในกาลก่อนและในกาลบัดนี้" และป้องกันทุกข์
พระพุทธเจ้าตรัสรู้ทุกข์และรู้แก้ทุกข์
อริยสัจ ๔ บอกว่าทุกข์คืออะไร รู้จักทุกข์ มีวิธีอะไรที่จะแก้ทุกข์ได้
หัวใจพระพุทธศาสนา
๑. ให้รู้จักทุกข์ ให้รู้ว่าทุกข์คืออะไร รู้จักสาเหตุแห่งทุกข์ (คือรู้จักผล คือทุกข์) แต่ต้องมารู้สาเหตุแห่งทุกข์ จะต้องใช้หลักอริยสัจ ๔
๒. รู้วิธีแก้ทุกข์จะทำยังไง รู้จักแก้ไขทุกข์ ก็จะใช้วิปัสสนากรรมฐาน โยนิโสมนสิการเป็นตัวดำเนินงาน ใช้หลักอิทธิบาท ๔ มรรคมีองค์ ๘ ข้อปฏิบัติแก้ทุกข์
๓. รักษาความดีและป้องกันไม่ให้เกิดทุกข์ซ้ำซาก เราอย่าไปทำบาปเพิ่ม เราทำเหตุเช่นใดย่อมได้รับผลตามเหตุเช่นนั้นๆ พิจารณากรรม ๕ พิจารณาวิบาก ๗ จะเป็นตัวป้องกันได้ (ไม่ทำชั่ว ทำดี ทำจิตใจให้ผ่องใส ) จะเข้าใจตรงนี้จะต้องใช้หลักวิปัสสนากรรมฐาน เครื่องมือดำเนินงานด้วยโยนิโสมนสิการ
พระไตรปิฏก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ๒. อลคัททูปมสูตร ว่าด้วยข้ออุปมาด้วยอสรพิษ [๒๘๖] การวางใจเป็นกลางในลาภสักการะ กล่าวว่า "ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมบัญญัติทุกข์ และความดับทุกข์ ทั้งในกาลก่อนและในกาลบัดนี้" และป้องกันทุกข์
พระพุทธเจ้าตรัสรู้ทุกข์และรู้แก้ทุกข์
อริยสัจ ๔ บอกว่าทุกข์คืออะไร รู้จักทุกข์ มีวิธีอะไรที่จะแก้ทุกข์ได้