...
ข้อ จำกัด คือ...
กว่าจะมีการ แจ้งมาว่าเกิดเหตุ
จะเอา ฮ. บินขึ้น... ไปดักหน้าหัวรถจักร จะทันหรือไม่...
... ปัจจุบัน จะมีเครื่องทำให้ตกราง ติดทีราง
แต่ปกติจะติดปลายทางสถานี ไม่ได้ติดบนราง
ถ้าเกิดบนรางหลัก คิดว่า คงสับรางให่รถตกราง คงง่ายที่สุด...
... หัวรถจักรนี้ อายุงาน 70 ปี แล้ว
ลอง จำลอง และ แก้ไขเหตุ ว่า
จะมี วิธีปฎิบัติ อย่างไรบ้าง หากเกิด สถายนการณ์ดังกล่าว ครับ
""""""""""""""""
เหตุหัวรถจักรชนสถานีกรุงเทพ พ.ศ. 2529
เหตุการณ์หัวรถจักรพุ่งชนสถานีกรุงเทพ พ.ศ. 2529 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529
เวลาประมาณ 08.50 น. เมื่อขบวนรถไฟประกอบด้วยหัวรถจักรจำนวน 6 คันพ่วงติดกัน ซึ่งได้แก่หมายเลข 4029, 4042, 4044, 4010, 4006, 4043 กำลังซ่อมบำรุงอยู่ที่โรงเก็บหัวรถจักร สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ พนักงานขับรถไฟได้ติดเครื่องยนต์และลงจากรถโดยไม่ดับเครื่อง และทำท่าคันกลับอาการ (เกียร์ของรถไฟ) ไว้ที่ตำแหน่งเดินหน้า โดยล็อกคันเร่งไว้ที่สูงสุด เนื่องจากรถไฟใช้ระบบลมดูด เมื่อติดเครื่องยนต์ไว้สักครู่ ลมจะหมุนเวียนครบวงจร รถไฟจึงวิ่งเข้าสู่รางประธาน รถไฟวิ่งไปตามเส้นทาง ผ่านทางแยกตัดกับถนนพระรามที่ 6, ถนนประดิพัทธ์ ผ่านสถานีรถไฟสามเสน, ถนนนครไชยศรี, ถนนราชวิถี, ถนนศรีอยุธยา และถนนเพชรบุรี เป็นระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ด้วยความเร็วประมาณ 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยไม่มีพนักงานขับรถแต่อย่างใด
ไม่กี่นาทีต่อมา เสียงรถจักรจีอีทั้ง 6 คันก็ดังขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดมเป่านกหวีดดังลั่น รถจักรทั้ง 6 คันพุ่งเข้าปะทะแผงกั้นที่สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) แล้วทะลุเลยเข้าไปในชานชาลาสถานี ชนป้ายตารางเวลาเดินรถ ร้านค้า และเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์โดยพุ่งเลยไปเกือบถึงหน้าถนน ขณะที่มีผู้โดยสารจำนวนมากอยู่ในสถานี ก่อนเกิดเหตุ ทางสถานีได้ออกประกาศเตือนผู้โดยสารแล้ว แต่เนื่องจากความบกพร่องของระบบกระจายเสียง ทำให้เกิดเสียงก้องกังวานและผู้โดยสารจำนวนมากไม่ทราบการแจ้งเตือนล่วงหน้า
หตุการณ์ครั้งนี้ได้รับการเรียกขานจากสื่อมวลชนว่าเป็น รถไฟผีสิง เนื่องจากหัวรถจักรตัวเปล่า โดยไม่มีคนขับเกิดวิ่งได้เองจนชนชานชาลาสถานีกรุงเทพ นับเป็นความผิดปกติอย่างมาก บางกระแสก็กล่าวเกินเลยไปถึงขนาดตั้งข้อสังเกตว่าเป็นการวินาศกรรมหรือไม่ เป็นต้น
เหตุการณ์นี้มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 4 คน บาดเจ็บ 4 คน ค่าเสียหายประมาณ 2 ล้านบาท โดยผู้เสียชีวิตมีรายนามดังนี้
นายแสวง ศรีสุข
เด็กชายพิเศษฐ แสนมาโนตร
นายสมบัติ สังแคนพรม
นางโสภา เก้าเอี้ยน
สมมุติมีรถไฟวิ่งโดยไม่มีคนขับ หลุดเข้าราง ด้วยความเร็วประมาณ 80 กม ต่อชม. ฮ.สามารถบินตามทัน และเอาคนลงไปเบรคได้ หรือไม่
ข้อ จำกัด คือ...
กว่าจะมีการ แจ้งมาว่าเกิดเหตุ
จะเอา ฮ. บินขึ้น... ไปดักหน้าหัวรถจักร จะทันหรือไม่...
... ปัจจุบัน จะมีเครื่องทำให้ตกราง ติดทีราง
แต่ปกติจะติดปลายทางสถานี ไม่ได้ติดบนราง
ถ้าเกิดบนรางหลัก คิดว่า คงสับรางให่รถตกราง คงง่ายที่สุด...
... หัวรถจักรนี้ อายุงาน 70 ปี แล้ว
ลอง จำลอง และ แก้ไขเหตุ ว่า
จะมี วิธีปฎิบัติ อย่างไรบ้าง หากเกิด สถายนการณ์ดังกล่าว ครับ
""""""""""""""""
เหตุหัวรถจักรชนสถานีกรุงเทพ พ.ศ. 2529
เหตุการณ์หัวรถจักรพุ่งชนสถานีกรุงเทพ พ.ศ. 2529 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529
เวลาประมาณ 08.50 น. เมื่อขบวนรถไฟประกอบด้วยหัวรถจักรจำนวน 6 คันพ่วงติดกัน ซึ่งได้แก่หมายเลข 4029, 4042, 4044, 4010, 4006, 4043 กำลังซ่อมบำรุงอยู่ที่โรงเก็บหัวรถจักร สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ พนักงานขับรถไฟได้ติดเครื่องยนต์และลงจากรถโดยไม่ดับเครื่อง และทำท่าคันกลับอาการ (เกียร์ของรถไฟ) ไว้ที่ตำแหน่งเดินหน้า โดยล็อกคันเร่งไว้ที่สูงสุด เนื่องจากรถไฟใช้ระบบลมดูด เมื่อติดเครื่องยนต์ไว้สักครู่ ลมจะหมุนเวียนครบวงจร รถไฟจึงวิ่งเข้าสู่รางประธาน รถไฟวิ่งไปตามเส้นทาง ผ่านทางแยกตัดกับถนนพระรามที่ 6, ถนนประดิพัทธ์ ผ่านสถานีรถไฟสามเสน, ถนนนครไชยศรี, ถนนราชวิถี, ถนนศรีอยุธยา และถนนเพชรบุรี เป็นระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ด้วยความเร็วประมาณ 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยไม่มีพนักงานขับรถแต่อย่างใด
ไม่กี่นาทีต่อมา เสียงรถจักรจีอีทั้ง 6 คันก็ดังขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดมเป่านกหวีดดังลั่น รถจักรทั้ง 6 คันพุ่งเข้าปะทะแผงกั้นที่สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) แล้วทะลุเลยเข้าไปในชานชาลาสถานี ชนป้ายตารางเวลาเดินรถ ร้านค้า และเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์โดยพุ่งเลยไปเกือบถึงหน้าถนน ขณะที่มีผู้โดยสารจำนวนมากอยู่ในสถานี ก่อนเกิดเหตุ ทางสถานีได้ออกประกาศเตือนผู้โดยสารแล้ว แต่เนื่องจากความบกพร่องของระบบกระจายเสียง ทำให้เกิดเสียงก้องกังวานและผู้โดยสารจำนวนมากไม่ทราบการแจ้งเตือนล่วงหน้า
หตุการณ์ครั้งนี้ได้รับการเรียกขานจากสื่อมวลชนว่าเป็น รถไฟผีสิง เนื่องจากหัวรถจักรตัวเปล่า โดยไม่มีคนขับเกิดวิ่งได้เองจนชนชานชาลาสถานีกรุงเทพ นับเป็นความผิดปกติอย่างมาก บางกระแสก็กล่าวเกินเลยไปถึงขนาดตั้งข้อสังเกตว่าเป็นการวินาศกรรมหรือไม่ เป็นต้น
เหตุการณ์นี้มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 4 คน บาดเจ็บ 4 คน ค่าเสียหายประมาณ 2 ล้านบาท โดยผู้เสียชีวิตมีรายนามดังนี้
นายแสวง ศรีสุข
เด็กชายพิเศษฐ แสนมาโนตร
นายสมบัติ สังแคนพรม
นางโสภา เก้าเอี้ยน