👉🏻 สตรีทฟู๊ดไทย ทำไมใครๆว่าถูกและดี?
👉🏻 ค่าเดินทางในไทยนี้ เขาว่าแพงที่สุดในโลก?
👉🏻 สวิสเซอแลนด์ แดนที่ค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก แต่ทำไมผู้คนมีความสุขระดับต้นของโลก?
เชื่อว่าหลายหลายคนคงมีคำถามเหล่านี้อยู่ในใจบ้างไม่มากก็น้อย แต่อาจด้วยหน้าที่การงาน ความเหนื่อยล้าและการต้องใช้เวลาในการศึกษาอย่างถ่องแท้
“ทำให้สุดท้ายทุกคนหาจากได้แต่สงสัยแต่ก็ไม่ว่างค้นหาคำตอบ”
โพสต์นี้เป็นโพสต์ที่แอดมินใช้ความตั้งใจอย่างมากในการรวมข้อมูล และนำมาเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจนเพื่อประโยชน์ในการศึกษา และประโยชน์ในการวางแผนด้านการเงิน...
ก่อนอื่นขอพื้นที่เล็กๆโฆษณาเพจเรานิดนึงนะฮะ ชอบช่วยกดไลค์ ใช่ช่วยกันกดแชร์ เป็นกำลังใจให้เราหน่อยน้าาาาา
https://www.facebook.com/2morrowdiet/
ผลงานกระทู้เก่าของเรา
เยลลี่หมีของไทย VS ต่างประเทศ
https://ppantip.com/topic/38213401
ข้าวกล่องเริ่มต้น 15 บาท จัดเต็มเนื้อสัตว์+ไข่
https://ppantip.com/topic/38242038/desktop
เปิปพิศดาร เมนูไข่มุก ต้อง!?!?
https://ppantip.com/topic/38249445
เปรียบเทียบช็อตต่อช็อต บะหมี่กึ่งฯ รสต้มยำกุ้งทุกยี่ห้อ!!!! (ที่พอจะหาได้)
https://ppantip.com/topic/38318011
เปรียบเทียบไอศกรีม 3 แบรนด์ดังที่ขายในห้างแบบช็อตต่อช็อต!!!
https://ppantip.com/topic/38445834
How to สั่ง “กาแฟน้ำส้ม” เมนูกาแฟลับๆ จาก 3 แบรนด์กาแฟเจ้าดังทั่วฟ้าเมืองไทย พร้อมเปรียบเทียบกันแบบช็อตต่อช็อต!!!
https://ppantip.com/topic/39428710
หากพร้อมแล้วเรียนเชิญมาชมกันได้เลยกับ..
“รีวิวเปรียบเทียบค่าของชีพไทยในระดับสากล”
พร้อมแล้วมาเริ่มกันเลยครับ!
แอดขออนุญาตเลือกประเทศมาทั้งหมดเพียงแค่ 7 ประเทศเท่านั้น
ซึ่งในหลายประเทศเป็นประเทศที่เราคุ้นตากันอยู่แล้ว
แต่แอดขอเลือกประเทศแบ่งออกเป็นสามกลุ่มด้วยกันได้แก่
- กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว
- กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา
- กลุ่มประเทศพัฒนาช้าที่สุด (หรือประเทศด้อยพัฒนาครับ)
ข้อมูลจำแนกกลุ่มประเทศทั้งสามกลุ่มนี้ผมอ้างอิงจากวิกิพีเดียไทยนะครับ
ตัวแปรที่ 1
เริ่มจากการดูข้อมูลพื้นฐานกันก่อนจากนั้นจึงเริ่มทำการเปรียบเทียบในลำดับถัดไป
โดยหน้านี้จะแสดงรายได้เฉลี่ยต่อคนและค่าใช้จ่ายพื้นฐานในชีวิตประจำวันครับ
ตัวแปรที่ 2
หน้านี้จะเป็นการแจกแจงราคาของสินค้าบริโภคที่หาซื้อได้ทั่วไปครับ
ตัวแปรที่ 3
หน้านี้จะแสดงถึงราคาค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับไลฟ์สไตล์นอกบ้านและความบันเทิง ครับ
Step 2
หลังจากรู้มูลค่าของค่าใช้จ่ายทั้ง 3 กลุ่มกันแล้ว
เรามาคำนวณกันครับ ว่ารายได้เฉลี่ยต่อคนของแต่ละประเทศนั้น สามารถแปลงมาเป็นกำลังซื้อได้ระดับไหน
Step 2 ตัวแปรที่ 1
กำลังในการซื้อเทียบกับค่าใช้จ่ายพื้นฐาน
Step 2 ตัวแปรที่ 2
กำลังในการซื้อเทียบกับสินค้าบริโภค
Step 2 ตัวแปรที่ 3
กำลังในการซื้อเทียบกับค่าใช้จ่ายด้านไลฟ์สไตล์
Step 3
คราวนี้เรามาดูกันครับ
👉🏻เราทราบค่าสินค้าพื้นฐานในแต่ละกลุ่มแล้ว
👉🏻เราคำนวณกำลังในการซื้อเทียบกับค่าใช้จ่ายในกลุ่มแล้ว
คราวนี้เรามาดูกันว่า “ประเทศไหนถูก ประเทศไหนแพงที่สุดครับ”
Step 3 ตัวแปร 1
ประเทศที่ถูกและแพงที่สุดในหมวดค่าใช้จ่ายพื้นฐาน
Step 3 ตัวแปร 2
ประเทศที่ถูกและแพงที่สุดในหมวดสินค้าบริโภค
Step 3 ตัวแปร 3
ประเทศที่ถูกและแพงที่สุดในหมวดค่าใช้จ่ายด้านไลฟ์สไตล์
สรุป
การเปรียบเทียบนี้ เป็นการเทียบเพียงแค่ 7 ประเทศ ไม่ใช่ทั่วโลก
แต่จะเห็นได้ว่า “สตรีทฟู๊ดเมืองไทยราคาถูกจริงๆ”
ก็ไม่แปลกเลยครับว่าทำไมอาหารไทยถึงได้ชื่อว่าถูก อร่อย และดีที่สุดในโลก
แต่ค่าใช้จ่ายอื่นๆของไทยยังอยู่ในระดับที่เรียกว่าแพงมากเมื่อเทียบกับระดับสากลครับ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
“ค่าเดินทาง” ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่สุดในการสร้างรายได้ให้กับผู้คน
และ “ค่าฟิตเนส” ก็เช่นกัน ที่แอดให้ความสำคัญมาก เพราะ “สุขภาพ” เป็นสิ่งสำคัญในการทำงานสร้างรายได้เข้าประเทศครับ
ขอบคุณที่ติดตามอ่านกันมาจนจบนะจ๊ะ ถ้าชอบคอนเทนท์ดีดีของเรา อย่าลืมกดติดตามที่เพจของเราในเฟสบุ๊ค "พรุ่งนี้ค่อยลด" ได้
สำหรับวันนี้ ขอขอบคุณและสวัสดีครับ❤️❤️❤️
#พรุ่งนี้ค่อยลด
[CR] "รีวิวเปรียบเทียบค่าครองชีพของไทยในระดับสากล"
👉🏻 ค่าเดินทางในไทยนี้ เขาว่าแพงที่สุดในโลก?
👉🏻 สวิสเซอแลนด์ แดนที่ค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก แต่ทำไมผู้คนมีความสุขระดับต้นของโลก?
เชื่อว่าหลายหลายคนคงมีคำถามเหล่านี้อยู่ในใจบ้างไม่มากก็น้อย แต่อาจด้วยหน้าที่การงาน ความเหนื่อยล้าและการต้องใช้เวลาในการศึกษาอย่างถ่องแท้
“ทำให้สุดท้ายทุกคนหาจากได้แต่สงสัยแต่ก็ไม่ว่างค้นหาคำตอบ”
โพสต์นี้เป็นโพสต์ที่แอดมินใช้ความตั้งใจอย่างมากในการรวมข้อมูล และนำมาเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจนเพื่อประโยชน์ในการศึกษา และประโยชน์ในการวางแผนด้านการเงิน...
ก่อนอื่นขอพื้นที่เล็กๆโฆษณาเพจเรานิดนึงนะฮะ ชอบช่วยกดไลค์ ใช่ช่วยกันกดแชร์ เป็นกำลังใจให้เราหน่อยน้าาาาา
https://www.facebook.com/2morrowdiet/
ผลงานกระทู้เก่าของเรา
เยลลี่หมีของไทย VS ต่างประเทศ
https://ppantip.com/topic/38213401
ข้าวกล่องเริ่มต้น 15 บาท จัดเต็มเนื้อสัตว์+ไข่
https://ppantip.com/topic/38242038/desktop
เปิปพิศดาร เมนูไข่มุก ต้อง!?!?
https://ppantip.com/topic/38249445
เปรียบเทียบช็อตต่อช็อต บะหมี่กึ่งฯ รสต้มยำกุ้งทุกยี่ห้อ!!!! (ที่พอจะหาได้)
https://ppantip.com/topic/38318011
เปรียบเทียบไอศกรีม 3 แบรนด์ดังที่ขายในห้างแบบช็อตต่อช็อต!!!
https://ppantip.com/topic/38445834
How to สั่ง “กาแฟน้ำส้ม” เมนูกาแฟลับๆ จาก 3 แบรนด์กาแฟเจ้าดังทั่วฟ้าเมืองไทย พร้อมเปรียบเทียบกันแบบช็อตต่อช็อต!!!
https://ppantip.com/topic/39428710
หากพร้อมแล้วเรียนเชิญมาชมกันได้เลยกับ..
“รีวิวเปรียบเทียบค่าของชีพไทยในระดับสากล”
พร้อมแล้วมาเริ่มกันเลยครับ!
แอดขออนุญาตเลือกประเทศมาทั้งหมดเพียงแค่ 7 ประเทศเท่านั้น
ซึ่งในหลายประเทศเป็นประเทศที่เราคุ้นตากันอยู่แล้ว
แต่แอดขอเลือกประเทศแบ่งออกเป็นสามกลุ่มด้วยกันได้แก่
- กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว
- กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา
- กลุ่มประเทศพัฒนาช้าที่สุด (หรือประเทศด้อยพัฒนาครับ)
ข้อมูลจำแนกกลุ่มประเทศทั้งสามกลุ่มนี้ผมอ้างอิงจากวิกิพีเดียไทยนะครับ
ตัวแปรที่ 1
เริ่มจากการดูข้อมูลพื้นฐานกันก่อนจากนั้นจึงเริ่มทำการเปรียบเทียบในลำดับถัดไป
โดยหน้านี้จะแสดงรายได้เฉลี่ยต่อคนและค่าใช้จ่ายพื้นฐานในชีวิตประจำวันครับ
ตัวแปรที่ 2
หน้านี้จะเป็นการแจกแจงราคาของสินค้าบริโภคที่หาซื้อได้ทั่วไปครับ
ตัวแปรที่ 3
หน้านี้จะแสดงถึงราคาค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับไลฟ์สไตล์นอกบ้านและความบันเทิง ครับ
Step 2
หลังจากรู้มูลค่าของค่าใช้จ่ายทั้ง 3 กลุ่มกันแล้ว
เรามาคำนวณกันครับ ว่ารายได้เฉลี่ยต่อคนของแต่ละประเทศนั้น สามารถแปลงมาเป็นกำลังซื้อได้ระดับไหน
Step 2 ตัวแปรที่ 1
กำลังในการซื้อเทียบกับค่าใช้จ่ายพื้นฐาน
Step 2 ตัวแปรที่ 2
กำลังในการซื้อเทียบกับสินค้าบริโภค
Step 2 ตัวแปรที่ 3
กำลังในการซื้อเทียบกับค่าใช้จ่ายด้านไลฟ์สไตล์
Step 3
คราวนี้เรามาดูกันครับ
👉🏻เราทราบค่าสินค้าพื้นฐานในแต่ละกลุ่มแล้ว
👉🏻เราคำนวณกำลังในการซื้อเทียบกับค่าใช้จ่ายในกลุ่มแล้ว
คราวนี้เรามาดูกันว่า “ประเทศไหนถูก ประเทศไหนแพงที่สุดครับ”
Step 3 ตัวแปร 1
ประเทศที่ถูกและแพงที่สุดในหมวดค่าใช้จ่ายพื้นฐาน
Step 3 ตัวแปร 2
ประเทศที่ถูกและแพงที่สุดในหมวดสินค้าบริโภค
Step 3 ตัวแปร 3
ประเทศที่ถูกและแพงที่สุดในหมวดค่าใช้จ่ายด้านไลฟ์สไตล์
สรุป
การเปรียบเทียบนี้ เป็นการเทียบเพียงแค่ 7 ประเทศ ไม่ใช่ทั่วโลก
แต่จะเห็นได้ว่า “สตรีทฟู๊ดเมืองไทยราคาถูกจริงๆ”
ก็ไม่แปลกเลยครับว่าทำไมอาหารไทยถึงได้ชื่อว่าถูก อร่อย และดีที่สุดในโลก
แต่ค่าใช้จ่ายอื่นๆของไทยยังอยู่ในระดับที่เรียกว่าแพงมากเมื่อเทียบกับระดับสากลครับ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
“ค่าเดินทาง” ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่สุดในการสร้างรายได้ให้กับผู้คน
และ “ค่าฟิตเนส” ก็เช่นกัน ที่แอดให้ความสำคัญมาก เพราะ “สุขภาพ” เป็นสิ่งสำคัญในการทำงานสร้างรายได้เข้าประเทศครับ
ขอบคุณที่ติดตามอ่านกันมาจนจบนะจ๊ะ ถ้าชอบคอนเทนท์ดีดีของเรา อย่าลืมกดติดตามที่เพจของเราในเฟสบุ๊ค "พรุ่งนี้ค่อยลด" ได้
สำหรับวันนี้ ขอขอบคุณและสวัสดีครับ❤️❤️❤️
#พรุ่งนี้ค่อยลด
CR - Consumer Review : กระทู้รีวิวนี้เป็นกระทู้ CR โดยที่เจ้าของกระทู้