คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
1. คาโนลา ทานตะวัน ถั่วเหลือง ไม่เหมาะสำหรับทอดเลยครับ แต่ถ้าจำเป็นต้องเลือกแค่ 3 ตัวนี้ เลือก
คาโนลา เพราะจัดเป็นพวกไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว ยังไงโครงสร้างโมเลกุลเสถียรกว่าพวกไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน(ทานตะวัน ถั่วเหลือง) อย่างไรก็ตามไม่ควรให้อุณหภูมิเกิน 200 องศาเซลเซียส (อย่าให้เกิน smoke point) และหากสังเกตุเห็นว่าน้ำมันเหนียว ดำ เหม็นหืน อย่าเอามาใช้ซ้ำครับ
2. ได้สบายครับ
3. ควันขึ้น แปลว่าน้ำมันเริ่มเดือด คือถึง หรืออาจจะเกิน smoke point ถ้าปล่อยไว้นานก็อาจเกิดพวกสารก่อมะเร็ง (พวกอนุมูลอิสระ อะโครเลอิน ฯ) แต่คนแต่ละคนก็ตอบสนองต่อสารพวกนี้ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยครับ
คาโนลา เพราะจัดเป็นพวกไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว ยังไงโครงสร้างโมเลกุลเสถียรกว่าพวกไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน(ทานตะวัน ถั่วเหลือง) อย่างไรก็ตามไม่ควรให้อุณหภูมิเกิน 200 องศาเซลเซียส (อย่าให้เกิน smoke point) และหากสังเกตุเห็นว่าน้ำมันเหนียว ดำ เหม็นหืน อย่าเอามาใช้ซ้ำครับ
2. ได้สบายครับ
3. ควันขึ้น แปลว่าน้ำมันเริ่มเดือด คือถึง หรืออาจจะเกิน smoke point ถ้าปล่อยไว้นานก็อาจเกิดพวกสารก่อมะเร็ง (พวกอนุมูลอิสระ อะโครเลอิน ฯ) แต่คนแต่ละคนก็ตอบสนองต่อสารพวกนี้ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยครับ
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
รบกวนถาม น้ำมันพืช เรื่องการทอด และ ทำข้าวผัด โดยน้ำมัน ดอกทานตะวัน คาโนล่า และ ถั่วเหลือง
พอดูเว็บ ผู้ผลิต มีข้อมูลจุดเดือด ตามนี้ http://www.lamsoon.co.th/recipes.php?lang=en&cate=9&action=view&cid=218
ถ้าเทียบ 3 ตัว คือ ทานตะวันจุดเดือดสูง รองมา คาโนล่า และ ถั่วเหลือง
มี 3 คำถามครับ
1 ทั้งสามตัว ตัวไหน เหมาะกับ ทอดมากสุด ถ้าไม่ใช่ รำข้าว กับ ปาล์ม ครับ
2 ถ้าแค่ ผัดข้าว ใช้ คาโนล่า โอเคไหมครับ ผัดแบบ ไฟแรงไม่มาก คลุกไปคลุกมาน่ะครับ
3 ถ้าเห็นควันขึ้น นั่นแหมายถึง จะก่อสารมะเร็งใช่ไหมครับ ( ทั้งผัดทั้งทอด )
ขอถามเป็นความรู้หน่อยครับ