ณ ห้องเรียนบูรณาการของพี่ ป.6 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์
บรรยากาศของ Active Learning ในหน่วย #PBL หน่วย Make เส้น ป.6 ช่วงต้น
ครูน้ำสนทนาชวนเด็กๆ กระตุ้นด้วยการตั้งคำถาม? ให้ได้เห็นคลิป ได้สัมผัสของจริง สร้างแรงบันดาลใจ ค้นคว้าข้อมูล ลงมือปฏิบัติ ลองผิดลองถูก
เด็กๆ ทุกคนต้องใช้หลากหลายทักษะ
ได้จดจ่อ ทำงานร่วมกัน ตลอดการเรียนรู้ PBL หน่วยเส้นในคลิปต้น
โจทย์ปัญหาแรกเพื่อชงให้เกิดความสนใจเรียนรู้ประเด็นต่าง ๆ มักเป็นโจทย์ปัญหาที่ครูตั้งขึ้น เพื่อกระตุ้นให้เด็กอยากที่จะเรียนรู้ (Problem 1 : P1)
เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติทั้งการค้นหาความรู้และทดลองเพื่อค้นหาคำตอบ ความรู้ที่เกิดกับเด็กมักเป็น 'ความรู้ระดับที่ 3 (K3) : ความรู้ที่ได้จากการสืบค้น' และ 'ความรู้ระดับที่ 2 (K2) : ความรู้ที่ได้จากการนำข้อมูลที่สืบค้นมาคิดวิเคราะห์ ลงมือปฏิบัติ จนเกิดความเข้าใจ'
มีการสะท้อน (Reflection) ถึงขั้นตอน วิธีการ กระบวนการ และผลลัพธ์ หาก "ผู้เรียนยังไม่ค้นพบคำตอบหรือทางออกของปัญหาที่น่าพึงพอใจก็ ครูก็ไม่เร่งรีบเอาคำตอบหรือสรุป
เพราะผู้เรียนจะเกิดคำถามใหม่ ครูต้องเปิดโอกาสให้ได้ศึกษาต่อด้วยตนเอง จากความสนใจใคร่รู้"
"ผิดให้ไว แก้ให้ทัน กว่าจะมาเป็นเส้นให้เราได้กิน" เจอปัญหามากมายแล้วร่วมกันแก้
ค้นหาวิธีด้วยตนเอง บทบาทครูครูโค้ชผู้ที่จะอำนวยให้เกิดการเรียนรู้ที่มีพลัง
คลิปมีทั้งหมด 3 ตอน
ในคลิปนี้เป็นตอนแรก1/3 ครูน้ำ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างฉันทะ แล้วชวนเด็กๆ ออกแบบการเรียนรู้ ตลอด10 สัปดาห์
ติดตามอีก 2 ตอน ได้ใน เพจ
https://www.facebook.com/khrucoach/
YouTube ช่อง #ครูโค้ชโดยลำปลายมาศพัฒนา อย่าลืม subscribe นะครับจะได้ตามอีกเป็น 100 คลิป
https://www.youtube.com/channel/UCnNCzdkuP0oOWBLzHPruRCw
บรรยากาศของ Active Learning บูรณาการ PBL หน่วย Make เส้น ป.6 ช่วงต้น
บรรยากาศของ Active Learning ในหน่วย #PBL หน่วย Make เส้น ป.6 ช่วงต้น
ครูน้ำสนทนาชวนเด็กๆ กระตุ้นด้วยการตั้งคำถาม? ให้ได้เห็นคลิป ได้สัมผัสของจริง สร้างแรงบันดาลใจ ค้นคว้าข้อมูล ลงมือปฏิบัติ ลองผิดลองถูก
เด็กๆ ทุกคนต้องใช้หลากหลายทักษะ
ได้จดจ่อ ทำงานร่วมกัน ตลอดการเรียนรู้ PBL หน่วยเส้นในคลิปต้น
โจทย์ปัญหาแรกเพื่อชงให้เกิดความสนใจเรียนรู้ประเด็นต่าง ๆ มักเป็นโจทย์ปัญหาที่ครูตั้งขึ้น เพื่อกระตุ้นให้เด็กอยากที่จะเรียนรู้ (Problem 1 : P1)
เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติทั้งการค้นหาความรู้และทดลองเพื่อค้นหาคำตอบ ความรู้ที่เกิดกับเด็กมักเป็น 'ความรู้ระดับที่ 3 (K3) : ความรู้ที่ได้จากการสืบค้น' และ 'ความรู้ระดับที่ 2 (K2) : ความรู้ที่ได้จากการนำข้อมูลที่สืบค้นมาคิดวิเคราะห์ ลงมือปฏิบัติ จนเกิดความเข้าใจ'
มีการสะท้อน (Reflection) ถึงขั้นตอน วิธีการ กระบวนการ และผลลัพธ์ หาก "ผู้เรียนยังไม่ค้นพบคำตอบหรือทางออกของปัญหาที่น่าพึงพอใจก็ ครูก็ไม่เร่งรีบเอาคำตอบหรือสรุป
เพราะผู้เรียนจะเกิดคำถามใหม่ ครูต้องเปิดโอกาสให้ได้ศึกษาต่อด้วยตนเอง จากความสนใจใคร่รู้"
"ผิดให้ไว แก้ให้ทัน กว่าจะมาเป็นเส้นให้เราได้กิน" เจอปัญหามากมายแล้วร่วมกันแก้
ค้นหาวิธีด้วยตนเอง บทบาทครูครูโค้ชผู้ที่จะอำนวยให้เกิดการเรียนรู้ที่มีพลัง
คลิปมีทั้งหมด 3 ตอน
ในคลิปนี้เป็นตอนแรก1/3 ครูน้ำ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างฉันทะ แล้วชวนเด็กๆ ออกแบบการเรียนรู้ ตลอด10 สัปดาห์
ติดตามอีก 2 ตอน ได้ใน เพจ https://www.facebook.com/khrucoach/
YouTube ช่อง #ครูโค้ชโดยลำปลายมาศพัฒนา อย่าลืม subscribe นะครับจะได้ตามอีกเป็น 100 คลิป https://www.youtube.com/channel/UCnNCzdkuP0oOWBLzHPruRCw