หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
อัตตา มีอยู่ในพระนิพพาน
กระทู้คำถาม
ศาสนาพุทธ
อัตตา คือ หนึ่งในสามลักษณะของพระนิพพาน
อันได้แก่ เที่ยง บรมสุข และเป็นตัวตน
เช่นเดียวกับ ไตรลักษณ์ มีสามลักษณะ
อันได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
แล้วทำไมผมจึงเชื่อว่ามี"อัตตา"ในพระนิพพาน
ผมเชื่อจากหลักฐานที่ได้อ่านมานั่นแหละครับ
ผมพบว่า มีหลักฐานมากมายที่แสดงว่า
พระพุทธองค์ยืนยันในความมีอยู่ของ"อัตตา"
อันไม่ใช่ อัตตานุทิฎฐิ หรือ สักกายะทิฎฐิ
ซึ่งจัดเป็นมิจฉาทิฎฐิประเภทหนึ่ง
เรามาเริ่มกันเลย
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อวิชชามันฉลาดหลอกให้จิตหลงยึดขันธ์ 5
อวิชชามันฉลาดหลอกให้จิตหลงยึดขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นตัวเราของเรา คนทั่วไป 90% ที่ไม่ได้ศึกษาหลงยึดว่า รูป (กาย) เป็นตัวเรา เป็นจิต นักท่องตำราที่ขาดการปฏิบัติหลงยึดวิญญาณเป็นตัว
สมาชิกหมายเลข 2748147
เข้าใจพระพุทธศาสนาภายใน 10 นาที
1.พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร ? อริยสัจ 4 คือ ทุกข์ คือความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ สมุทัย คือเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ นิโรธ คือความดับทุกข์ มรรค คือข้อปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ 2. พระพุทธเจ้าทรงสอน เรื่องอ
Honeymile
ปุจฉา:นิพพานเป็นอัตตา หรือ อนัตตา วิสัชนา:บนนิพพานไม่มีเวทนาขันธ์(ความรู้สึก) จึงเกิดความรู้สึกว่ามีตัวตน หรือไม่มีตัวตน
ปุจฉา:นิพพานเป็นอัตตา หรือ อนัตตา วิสัชนา:บนนิพพานไม่มีเวทนาขันธ์(ความรู้สึก) จึงเกิดความรู้สึกว่ามีตัวตน หรือไม่มีตัวตนไม่ได้ นิพพานจึงไม่เป็นทั้งอัตตา และอนัตตา
สมาชิกหมายเลข 8485789
วัฏสงสารนี้มีกฏอยู่ 2 ข้อ ข้อแรก คือ กฏแห่งกรรม ข้อสอง กฏไตรลักษณ์
วัฏสงสารนี้มีกฏอยู่ 2 ข้อ ข้อแรก คือ กฏแห่งกรรม ทำกรรมใดไว้ย่อมได้รับผลของกรรมนั้น ข้อสอง กฏไตรลักษณ์ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา ทุกสรรพสิ่งย่อมเกิดขึ้น ตั้งอยู่และเสื่อมสลายไป ไม่มีใครอยู่เหนือกฏ 2 ข้
สมาชิกหมายเลข 2748147
โลกหลังความตายเราจะได้เกิดใหม่ หรือขาดสูญ?
ตายแล้วเกิดใหม่ หรือขาดสูญ? ตามแนวทางพระพุทธศาสนา ในพระพุทธศาสนา "ความตาย" ไม่ได้หมายถึงการสิ้นสุดทั้งหมด แต่เป็นกระบวนการเปลี่ยนผ่านจากชีวิตหนึ่งไปสู่ชีวิตใหม่&nbs
tonight8
หลวงตาท่านเปรียบสมาธิกับปัญญา เป็นเหมือนเท้าซ้ายกับเท้าขวา ต้องสลับกันก้าว
” ครูบาอาจารย์ “ หลวงตาท่านเปรียบสมาธิกับปัญญา เป็นเหมือนเท้าซ้ายกับเท้าขวา ต้องสลับกันก้าว ในการปฏิบัติเพื่อตัดกิเลสขั้นต่างๆ ต้องอาศัยการก้าวไปของสมาธิและปัญญาสลับกันไป พอพิจารณาไประยะ
สมาชิกหมายเลข 2748147
หลายคนตั้งคำถามว่า จิต คือ เรา หรือไม่??
หลายคนตั้งคำถามว่า จิต คือ เรา หรือไม่?? พระอาจารย์สุชาติ สอนเหมือนพระพุทธเจ้าเป๊ะ ว่าจิต คือ เรา พระอรหันต์ไม่สอนธรรมคลาดเคลื่อนจากพระพุทธเจ้า ใจ (จิต) ไม่ดับ ร่างกายจะดับก็ดับไป แต่ใจยังเป็นอกาลิโ
สมาชิกหมายเลข 2748147
เพราะ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง = ทุกขัง = อนัตตา) ไม่ใช่ตรรกะ ดังนั้น นิพพาน จึงไม่ใช่ อัตตา
ผมเห็นถกเถียงเรื่องนี้กันมานาน ผมเองก็ไม่เคยแสดงความเห็นนะครับ นี่เป็นครั้งแรก คำว่า "ไตรลักษณ์" หมายถึง ลักษณะ 3 ประการของสรรพสิ่งทั้งปวง ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คำว่า "ลักษณะข
สมาชิกหมายเลข 824809
นิพพาน > อนัตตา นิจจัง สุขัง = อัตตา พรามหมณ์ , มิใช่พุทธ
สัพเพ สังขารา อนิจจัง สัพเพ สังขารา ทุกขัง สัพเพ ธัมมา อนัตตา ธัมมา = สังขตธรรม + อสังขตธรรม สังขตธรรม = สังขาร , ขันธ์ ๕ , นามรูป อสังขตธรรม = นิพพาน , บัญญัติ ไตรลักษณ์ ทั้งสังขตธรรม และอสัง
สมาชิกหมายเลข 3704790
ถ้าอย่างนั้น ความสิ้นไปแห่งตัณหา ก็ไม่ใช่ อนัตตา น่ะสิ
จากพระสูตร ๒. สัตตสูตร "เพราะว่าความสิ้นไปแห่งตัณหา เป็นนิพพาน." https://84000.org/tipitaka/book/v.php?B=17&A=4433&Z=4459 หรือจาก ๑๐. โลกสูตร "เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาทั้งห
สมาชิกหมายเลข 4128431
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
อัตตา มีอยู่ในพระนิพพาน
อันได้แก่ เที่ยง บรมสุข และเป็นตัวตน
เช่นเดียวกับ ไตรลักษณ์ มีสามลักษณะ
อันได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
แล้วทำไมผมจึงเชื่อว่ามี"อัตตา"ในพระนิพพาน
ผมเชื่อจากหลักฐานที่ได้อ่านมานั่นแหละครับ
ผมพบว่า มีหลักฐานมากมายที่แสดงว่า
พระพุทธองค์ยืนยันในความมีอยู่ของ"อัตตา"
อันไม่ใช่ อัตตานุทิฎฐิ หรือ สักกายะทิฎฐิ
ซึ่งจัดเป็นมิจฉาทิฎฐิประเภทหนึ่ง
เรามาเริ่มกันเลย