--- นิโรธสัจจะ เป็น ธรรม ข้อหนึ่งใน อริยสัจจะ ๔ ใช่หรือไม่
---สัพเพ ธัมมา อนัตตา เป็นพระพุทธวจนะ ใช่หรือไม่
---ถ้าข้อ ๑ ใช่ ข้อ ๒ ใช่ ก็เรียนศึกษาและปฏิบัติพระสัทธรรมของพระพุทธเจ้าให้เข้าใจให้ได้ลึกซึ้งกันต่อไป
- การพูด การกระทำ เป็น จิตตชรูป คือ รูปที่เกิดขึ้นมาจากจิต
- เมื่อใด จิตมีอกุศลเจตสิกเข้าไปประกอบ การพูดก็จะเป็น วจีทุจริต การกระทำก็จะเป็น กายทุจริต
- เมื่อตามรู้ทุกข์ ด้วย สติ เวลาจิตเกิดกุศลก็รู้ จิตเกิดอกุศลก็รู้ อยู่เนืองๆ
- ก็อาศัย ความรู้ที่ศึกษาพระธรรมมา โยนิโสมนสิการ
- ใช้ สัมมัปปทาน ๔ อกุศลที่เกิดแล้วให้หมดลงน้อยลง อกุศลที่ยังไม่เกิดก็พยายามไม่ให้เกิด กุศลที่เกิดมีแล้วก็ให้เจริญตั้งมั่น กุศลที่ยังไม่มีก็พยายามให้มีให้เกิดขึ้น
- การปฏิบัติเช่นนี้ ถูก ใช่ หรือ ไม่
- ถ้า ศรัทธา มากกว่า ปัญญา เมื่อใด นั่นแหละเรียกว่า งมงาย
- ที่รู้ได้อย่างนี้ ไม่ใช่มโน คิดเองเออเอง ด้วยความหลงตนเอง แต่เป็นเพราะได้มีมานะบากบั่นขยันหมั่นเพียรศึกษาพระอภิธรรม พระสุตตันตปิฏก พระวินัยปิฎก มาโดยพระอาจารย์ อาจารย์ ที่สอนใน มจร.(แต่ผมฟังในยูตู๊บ)
- แต่อย่างไรก็ตาม กว่าจะลด มิจฉาทิฏฐิ ที่มีมากมายให้หมดคงยาก สำหรับ ปทปรมะบุคคล อย่างผม แต่สำหรับมิจฉาทิฏฐิที่หยาบๆ วิจิกิจฉาที่หยาบๆ และสีลพัตตปรามาสที่หยาบๆ ก็สามารถกำจัดไปได้เยอะ เพราะเรียนพระอภิธรรมนี้นั่นเอง
- ศรัทธา ที่ มีมากขึ้นๆ พร้อมกับมีความรู้ในทางพระธรรมที่มากขึ้นมากขึ้น เป็นสัดส่วนโดยตรงนั้น ทำให้ได้เข้าใจหนทางที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนทิ้งไว้
- เมื่อรู้สึกปิติ ใน พระพุทธคุณ ๙ บท พระธรรมคุณ ๖ บท พระสังฆคุณ ๙ บท เมื่อไหร่
- ชีวิตในภพนี้ย่อมมีคุณค่าอย่างยิ่ง ณ ตั้งแต่เริ่มเข้าใจพระสัทธรรมอย่างแท้จริง
- เชื่อผมเถอะ
อู้หื้อเปิ้นฮัก ยากนักจักหวัง อู้หื้อเปิ้นจัง กำเดียวก็ได้ หมายถึง พูดให้คนอื่นรักยากนัก แต่พูดให้คนชังคำเดียวก็ได้ผล
---สัพเพ ธัมมา อนัตตา เป็นพระพุทธวจนะ ใช่หรือไม่
---ถ้าข้อ ๑ ใช่ ข้อ ๒ ใช่ ก็เรียนศึกษาและปฏิบัติพระสัทธรรมของพระพุทธเจ้าให้เข้าใจให้ได้ลึกซึ้งกันต่อไป
- การพูด การกระทำ เป็น จิตตชรูป คือ รูปที่เกิดขึ้นมาจากจิต
- เมื่อใด จิตมีอกุศลเจตสิกเข้าไปประกอบ การพูดก็จะเป็น วจีทุจริต การกระทำก็จะเป็น กายทุจริต
- เมื่อตามรู้ทุกข์ ด้วย สติ เวลาจิตเกิดกุศลก็รู้ จิตเกิดอกุศลก็รู้ อยู่เนืองๆ
- ก็อาศัย ความรู้ที่ศึกษาพระธรรมมา โยนิโสมนสิการ
- ใช้ สัมมัปปทาน ๔ อกุศลที่เกิดแล้วให้หมดลงน้อยลง อกุศลที่ยังไม่เกิดก็พยายามไม่ให้เกิด กุศลที่เกิดมีแล้วก็ให้เจริญตั้งมั่น กุศลที่ยังไม่มีก็พยายามให้มีให้เกิดขึ้น
- การปฏิบัติเช่นนี้ ถูก ใช่ หรือ ไม่
- ถ้า ศรัทธา มากกว่า ปัญญา เมื่อใด นั่นแหละเรียกว่า งมงาย
- ที่รู้ได้อย่างนี้ ไม่ใช่มโน คิดเองเออเอง ด้วยความหลงตนเอง แต่เป็นเพราะได้มีมานะบากบั่นขยันหมั่นเพียรศึกษาพระอภิธรรม พระสุตตันตปิฏก พระวินัยปิฎก มาโดยพระอาจารย์ อาจารย์ ที่สอนใน มจร.(แต่ผมฟังในยูตู๊บ)
- แต่อย่างไรก็ตาม กว่าจะลด มิจฉาทิฏฐิ ที่มีมากมายให้หมดคงยาก สำหรับ ปทปรมะบุคคล อย่างผม แต่สำหรับมิจฉาทิฏฐิที่หยาบๆ วิจิกิจฉาที่หยาบๆ และสีลพัตตปรามาสที่หยาบๆ ก็สามารถกำจัดไปได้เยอะ เพราะเรียนพระอภิธรรมนี้นั่นเอง
- ศรัทธา ที่ มีมากขึ้นๆ พร้อมกับมีความรู้ในทางพระธรรมที่มากขึ้นมากขึ้น เป็นสัดส่วนโดยตรงนั้น ทำให้ได้เข้าใจหนทางที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนทิ้งไว้
- เมื่อรู้สึกปิติ ใน พระพุทธคุณ ๙ บท พระธรรมคุณ ๖ บท พระสังฆคุณ ๙ บท เมื่อไหร่
- ชีวิตในภพนี้ย่อมมีคุณค่าอย่างยิ่ง ณ ตั้งแต่เริ่มเข้าใจพระสัทธรรมอย่างแท้จริง
- เชื่อผมเถอะ